เนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยว เป็นเนินทรายที่มีลักษณะคล้ายพระจันทร์เสี้ยว หรือลักษณะเป็นแนวโค้ง ซึ่งจะประกอบไปด้วยตะกอนทรายที่มีความกลมมนที่ดี, มักเกิดขึ้นในทะเลทรายที่มีอากาศแห้งแล้งมาก และมักเกิดในพื้นที่ที่ปริมาณตะกอนขนาดทรายมีน้อย โดยเนินทรายดังกล่าวจะมีการวางตัวขนานไปกับทิศทางลม เนินทรายชนิดดังกล่าวนี้จะมียอดเขาที่มีสันสูงชัน 2 ด้าน คือด้านแรกคือด้านหลังลม หรือปลายแหลมด้านหาง เป็นด้านที่ทำมุมทรงตัว (Angle of repose: ทางลาดที่มีมุมเอียงสูงสุด ซึ่งทำให้เศษหิน ดิน ทราย ไม่เลื่อนต่อไป โดยปกติมุมเอียงจะอยู่ระหว่าง 33-37 องศา กับแนวนอนทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะและขนาดของมวลนั้น ๆ ด้วย) กับทรายหรือทำมุมประมาณ 32 องศา จะทำให้เนินทรายชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดไป อีกด้านคือด้านหน้าลม หรือปลายโค้งด้านหัวเนิน เป็นด้านที่เต็มไปด้วยลมและทำมุมประมาณ 15 องศา ทำให้เนินทรายชี้ไปทางด้านต้นลม โดยปกติแล้วเนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยวอาจจะมีความสูงเป็น 1-100 เมตร หรืออยู่ระหว่างจุดปลายสุดของพระจันทร์เสี้ยวหรือแนวโค้ง
โดยทั่วไปแล้ว เนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยวอาจจะปรากฏเนินทรายขนาดใหญ่ ซึ่งจะเรียกว่าเนินทราย ดังกล่าวว่า เนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยว (Barchan Dunes) หรือเนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยวขนาดใหญ่ (Megabarchan Dunes) ซึ่งมีการเคลื่อนของเนินทรายไปตามทิศทางของลม และอาจจะมีการรวมตัวกันเป็นเนินทรายที่มีขนาดความสูงประมาณ 100 กิโลเมตร
การเคลื่อนของเนินทรายรูปพระจันทร์เสี้ยวที่เป็นเนินทรายขนาดเล็กจะมีการเคลื่อนที่เร็วกว่าเนินทรายขนาดใหญ่ โดยที่การเคลื่อนที่จะมีการเคลื่อนที่เข้ามาชนกับส่วนหลังของเนินทรายที่มีขนาดใหญ่กว่าซึ่งจะทำให้เกิดการรวมตัวกันกลายเป็นเนินทรายที่มีขนาดใหญ่ขึ้น โดยกระบวนการดังกล่าวจะคล้ายคลึงกับคลื่นแสง, เสียงหรือน้ำที่มีการเคลื่อนที่ผ่านสิ่งอื่น ๆ เป็นเส้นตรง รายละเอียดของโครงสร้างของกระบวนการดังกล่าวนั้นจะมีความแตกต่าง และจะทำให้ไม่เป็นเส้นตรงซึ่งเรียกว่า soliton
การเคลื่อนของเนินทรายพยายามเลียนแบบพฤติกรรมของ soliton แต่จะแตกต่างกันตรงที่ตะกอนทรายจะไม่มีการเคลื่อนที่ผ่านสิ่งอื่น ๆ เมื่อเนินทรายขนาดเล็กมีการเคลื่อนที่ไปชนกับเนินทรายที่มีขนาดใหญ่กว่านั้น ลมจะมีการพัดพาตะกอนทรายมาตกสะสมบนบริเวณที่เนินทรายมีการชน และในเวลาเดียวกันนั้นตะกอนทรายจากเนินทรายก่อนหน้านี้จะถูกพัดออกมาเติมบริเวณที่เกิดการชนกัน โดยการเคลื่อนที่ชนกันของเนินทรายนั้นสามารถนำมาสันนิษฐานถึงขอบเขตของเนินทรายที่เกิดขึ้นก่อนโดยสังเกตได้จากการเคลื่อนที่ของเนินทรายที่มีขนาดเล็กกว่าที่เคลื่อนที่อยู่ ซึ่งจะลมจะเป็นตัวที่ช่วยให้มีการเคลื่อนที่ของเนินทรายด้วยความเร็ว
อ้างอิง
- คณะอนุกรรมการจัดทำพจนานุกรมธรณีวิทยา. (2530). พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ปัญญา จารุศิริ และคณะ. (2545). ธรณีวิทยากายภาพ. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- Schwämmle, V., and H.J. Herrmann (2003). "Solitary wave behaviour of sand dunes". Nature 426 (Dec. 11): 619–620 Abstract. doi:10.1038/426619a.
- H. Elbelrhiti, P. Claudin, and B. Andreotti (2005). "Field evidence for surface-wave-induced instability of sand dunes". Nature 437 (Sep. 29): 720–723 Abstract. doi:10.1038/nature04058.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
eninthrayrupphracnthresiyw epneninthraythimilksnakhlayphracnthresiyw hruxlksnaepnaenwokhng sungcaprakxbipdwytakxnthraythimikhwamklmmnthidi mkekidkhuninthaelthraythimixakasaehngaelngmak aelamkekidinphunthithiprimantakxnkhnadthrayminxy odyeninthraydngklawcamikarwangtwkhnanipkbthisthanglm eninthraychniddngklawnicamiyxdekhathimisnsungchn 2 dan khuxdanaerkkhuxdanhlnglm hruxplayaehlmdanhang epndanthithamumthrngtw Angle of repose thangladthimimumexiyngsungsud sungthaihesshin din thray imeluxntxip odypktimumexiyngcaxyurahwang 33 37 xngsa kbaenwnxnthngnikhunxyukblksnaaelakhnadkhxngmwlnn dwy kbthrayhruxthamumpraman 32 xngsa cathaiheninthraychiipinthisthangthilmphdip xikdankhuxdanhnalm hruxplayokhngdanhwenin epndanthietmipdwylmaelathamumpraman 15 xngsa thaiheninthraychiipthangdantnlm odypktiaelweninthrayrupphracnthresiywxaccamikhwamsungepn 1 100 emtr hruxxyurahwangcudplaysudkhxngphracnthresiywhruxaenwokhngeninthrayrupphracnthresiyw odythwipaelw eninthrayrupphracnthresiywxaccaprakteninthraykhnadihy sungcaeriykwaeninthray dngklawwa eninthrayrupphracnthresiyw Barchan Dunes hruxeninthrayrupphracnthresiywkhnadihy Megabarchan Dunes sungmikarekhluxnkhxngeninthrayiptamthisthangkhxnglm aelaxaccamikarrwmtwknepneninthraythimikhnadkhwamsungpraman 100 kiolemtr karekhluxnkhxngeninthrayrupphracnthresiywthiepneninthraykhnadelkcamikarekhluxnthierwkwaeninthraykhnadihy odythikarekhluxnthicamikarekhluxnthiekhamachnkbswnhlngkhxngeninthraythimikhnadihykwasungcathaihekidkarrwmtwknklayepneninthraythimikhnadihykhun odykrabwnkardngklawcakhlaykhlungkbkhlunaesng esiynghruxnathimikarekhluxnthiphansingxun epnesntrng raylaexiydkhxngokhrngsrangkhxngkrabwnkardngklawnncamikhwamaetktang aelacathaihimepnesntrngsungeriykwa soliton karekhluxnkhxngeninthrayphyayameliynaebbphvtikrrmkhxng soliton aetcaaetktangkntrngthitakxnthraycaimmikarekhluxnthiphansingxun emuxeninthraykhnadelkmikarekhluxnthiipchnkbeninthraythimikhnadihykwann lmcamikarphdphatakxnthraymatksasmbnbriewnthieninthraymikarchn aelainewlaediywknnntakxnthraycakeninthraykxnhnanicathukphdxxkmaetimbriewnthiekidkarchnkn odykarekhluxnthichnknkhxngeninthraynnsamarthnamasnnisthanthungkhxbekhtkhxngeninthraythiekidkhunkxnodysngektidcakkarekhluxnthikhxngeninthraythimikhnadelkkwathiekhluxnthixyu sungcalmcaepntwthichwyihmikarekhluxnthikhxngeninthraydwykhwamerwxangxingkhnaxnukrrmkarcdthaphcnanukrmthrniwithya 2530 phcnanukrmsphththrniwithya xngkvs ithy krungethph orngphimphculalngkrnmhawithyaly pyya carusiri aelakhna 2545 thrniwithyakayphaph krungethph khnawithyasastr culalngkrnmhawithyaly Schwammle V and H J Herrmann 2003 Solitary wave behaviour of sand dunes Nature 426 Dec 11 619 620 Abstract doi 10 1038 426619a H Elbelrhiti P Claudin and B Andreotti 2005 Field evidence for surface wave induced instability of sand dunes Nature 437 Sep 29 720 723 Abstract doi 10 1038 nature04058 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb eninthrayrupphracnthresiyw