เทวปาหาร (อักษรโรมัน: Deopahar; แปลว่า หุบเขาเทวะ) หรือ เทวบรรพต (อักษรโรมัน: Deoparvat) เป็นแหล่งโบราณคดีใน รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ประติมากรรมและซากสิ่งปลูกสร้างที่พบเป็นตัวอย่างชั้นเยี่ยมของการผสานระหว่างศิลปะอารยันกับศิลปกรรมพื้นถิ่น ปัจจุบันเทวปาหารอยู่ภายใต้อาณาเขตอุทยานประวัติศาสตร์โดย และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของรัฐอัสสัม จากซากที่หลงเหลือในปัจจุบันทำให้เชื่อว่าสร้างไม่เสร็จแต่แรกหรืออาจะเสียหายจาก
แหล่งโบราณคดีเทวปาหาร | |
---|---|
ศาสนา | |
ศาสนา | ฮินดู |
ที่ตั้ง | |
รัฐ | รัฐอัสสัม |
ประเทศ | ประเทศอินเดีย |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย เทวปาหาร (รัฐอัสสัม) | |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 26°36′08″N 93°43′52″E / 26.60222°N 93.73111°E |
สถาปัตยกรรม | |
เริ่มก่อตั้ง | ศตวรรษที่ 10-11 |
วัสดุ | หิน |
ผู้ปบูกและค้าชาชาวอังกฤษ ทอมัส การ์ดทาย (Thomas Guardthei) เป็นบุคคลแรกที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญและความสลับซับซ้อนของซากโบสถ์พระศิวะที่เทวปาหาร โบสถ์พระศิวะนี้สร้างขึ้นจากหินบนพื้นหินก้อนเดียว (monolithic floor) เพดานเป็นหินแผ่นใหญ่ที่สลักเป็นรูปดอกบัวและวิทยาธร ประติมากรรมหินจำนวนมากที่เทวปาหารแกะสลักมาจากหินยุคก่อนคัมเบรีย หินที่ฐานเชื่อมเข้าด้วยกันโดยใช้จะงอยเหล็ก (iron hinges)
ประติมากรรมต่าง ๆ ที่พบยังมีทั้งประติมากรรมแสดงรูปของอัปสร, พระวิษณุ, พระทวารบาลศิวะ, พระคเณศ, พระยม, พระสูรยะ, และวิทยาธร คนธรรพ์ รูปสลัก "อเปศวรี" ซึ่งเป็นรูปอัปสรสามหัวถือเป็นประติมากรรมที่งดงามที่สุดชิ้นหนึ่งจากเทวปาหาร ปัจจุบันประติมากรรมส่วนใหญ่จากเทวปาหารนำไปเก็บรักษาและจัดแสดงที่โบสถ์พระศิวะในนุมาลีครห์ และพิพิธภัณฑ์รัฐอัสสัมในเมืองคุวาหาฏี นักโบราณคดี จี. ภูยัน (G. Bhuyan) บรรยายประติมากรรมเหล่านี้ว่าโดดเด่นเป็นพิเศษและแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของศิลปกรรมพื้นถิ่นอัสสัมที่พัฒนาในศตวรรษที่ 10
อ้างอิง
- Sarmah, Dr. Bijoy (September 1, 2020). "A Historical Study of the Archaeological Remains of Deopahar, Numaligarh" (PDF). SAMPRITI. VI (II): 667–679 – โดยทาง researchgate.net.
- "Home | Directorate of Archaeology | Government Of Assam, India". archaeology.assam.gov.in.
- "Historical Monuments | Assam Tourism Development Corporation Ltd | Government Of Assam, India". tourismcorporation.assam.gov.in.
- "Temple ruins on Dhansiri bank". www.telegraphindia.com.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ethwpahar xksrormn Deopahar aeplwa hubekhaethwa hrux ethwbrrpht xksrormn Deoparvat epnaehlngobrankhdiin rthxssm praethsxinediy pratimakrrmaelasaksingpluksrangthiphbepntwxyangchneyiymkhxngkarphsanrahwangsilpaxarynkbsilpkrrmphunthin pccubnethwpaharxyuphayitxanaekhtxuthyanprawtisastrody aelayngepnaehlngthxngethiywsakhykhxngrthxssm caksakthihlngehluxinpccubnthaihechuxwasrangimesrcaetaerkhruxxacaesiyhaycakaehlngobrankhdiethwpaharsasnasasnahinduthitngrthrthxssmpraethspraethsxinediythitnginpraethsxinediyaesdngaephnthipraethsxinediyethwpahar rthxssm aesdngaephnthirthxssmphikdphumisastr26 36 08 N 93 43 52 E 26 60222 N 93 73111 E 26 60222 93 73111sthaptykrrmerimkxtngstwrrsthi 10 11wsduhin phupbukaelakhachachawxngkvs thxms kardthay Thomas Guardthei epnbukhkhlaerkthichiihehnthungkhwamsakhyaelakhwamslbsbsxnkhxngsakobsthphrasiwathiethwpahar obsthphrasiwanisrangkhuncakhinbnphunhinkxnediyw monolithic floor ephdanepnhinaephnihythislkepnrupdxkbwaelawithyathr pratimakrrmhincanwnmakthiethwpaharaekaslkmacakhinyukhkxnkhmebriy hinthithanechuxmekhadwyknodyichcangxyehlk iron hinges pratimakrrmtang thiphbyngmithngpratimakrrmaesdngrupkhxngxpsr phrawisnu phrathwarbalsiwa phrakhens phraym phrasurya aelawithyathr khnthrrph rupslk xepswri sungepnrupxpsrsamhwthuxepnpratimakrrmthingdngamthisudchinhnungcakethwpahar pccubnpratimakrrmswnihycakethwpaharnaipekbrksaaelacdaesdngthiobsthphrasiwainnumalikhrh aelaphiphithphnthrthxssminemuxngkhuwahati nkobrankhdi ci phuyn G Bhuyan brryaypratimakrrmehlaniwaoddednepnphiessaelaaesdngihehnthungphthnakarkhxngsilpkrrmphunthinxssmthiphthnainstwrrsthi 10xangxingSarmah Dr Bijoy September 1 2020 A Historical Study of the Archaeological Remains of Deopahar Numaligarh PDF SAMPRITI VI II 667 679 odythang researchgate net Home Directorate of Archaeology Government Of Assam India archaeology assam gov in Historical Monuments Assam Tourism Development Corporation Ltd Government Of Assam India tourismcorporation assam gov in Temple ruins on Dhansiri bank www telegraphindia com