เซลล์กัลวานิก หรือ เซลล์วอลตา (อังกฤษ: Galvanic cell หรือ Voltaic cell) เป็นเซลล์ไฟฟ้าเคมีที่ตั้งชื่อตาม ลุยจิ กัลวานี หรือ อาเลสซานโดร โวลตาตามลำดับ เซลล์นี้จะให้พลังงานไฟฟ้าจากปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นเองภายในเซลล์ โดยทั่วไปมันจะประกอบด้วยโลหะที่ต่างกันสองชนิดเชื่อมต่อกันด้วย หรือสองครึ่งเซลล์ที่คั่นด้วยเยื่อที่มีรูพรุน
นายโวลตาเป็นผู้ประดิษฐ์ซึ่งเป็นตัวแรก ในการใช้งานทั่วไป คำว่า "แบตเตอรี" จะใช้กับเซลล์กัลวานีเดี่ยว แต่แบตเตอรีหนึ่งตัวมักประกอบด้วยเซลล์ขนาดเล็กหลายตัว
ประวัติ
ในปี 1780 นายลุยจิ กัลวานี ค้นพบว่าเมื่อโลหะสองชนิดที่แตกต่างกัน (เช่นทองแดงและสังกะสี) ถูกนำมาแตะกับส่วนต่าง ๆ ของเส้นประสาทของขากบในเวลาเดียวกัน ขาของกบจะหดตัว เขาเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "ไฟฟ้าจากสัตว์" ต่อมานายแอเลสซานโดร โวลตา ได้ประดิษฐ์เซลล์โวลตาวางซ้อน (อังกฤษ: voltaic pile) ในปี 1800 มันประกอบด้วยหลายเซลล์ที่คล้ายกับเซลล์กัลวานีวางซ้อนกันเป็นชั้น อย่างไรก็ตาม โวลตาสร้างมันขึ้นมาทั้งหมดจากวัสดุที่ไม่ใช่ชีวภาพเพื่อที่จะท้าทายทฤษฎีไฟฟ้าจากสัตว์ของกัลวานี (และนักทดลองต่อมานาย Leopoldo Nobili) เพื่อตอบสนองกับความพอใจในทฤษฎีสัมผัสไฟฟ้าโลหะต่อโลหะของตัวเขาเอง นายคาร์โล Matteucci ได้เปลี่ยนมาสร้างแบตเตอรี่ที่ปราศจากวัสดุชีวภาพโดยสิ้นเชิงเพื่อสนองตอบต่อนายโวลตา การค้นพบเหล่านี้ปูทางไปสู่แบตเตอรี่ไฟฟ้าทั้งหลาย; เซลล์ของโวลตาเป็นชื่อในลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญของ IEEE ในปี 1999
นาย Wilhelm König ได้แนะนำในปี 1940 ว่าวัตถุที่เรียกว่าอาจเป็นตัวแทนของเทคโนโลยีเซลล์กัลวานีจากเมือง Parthia โบราณ แบบจำลองที่ถูกเติมเต็มด้วยกรดซิตริกหรือน้ำองุ่นเคยแสดงว่าสามารถผลิตแรงดันไฟฟ้าได้ แต่มันก็อยู่ไกลจากความแน่นอนที่ว่าแบบจำลองนี้เป็นวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นแบตเตอรีในยุคนั้น นักวิชาการอื่นชี้ว่ามันจะคล้ายกันมากกับอ่างที่รู้จักกันว่าได้ถูกใช้สำหรับการจัดเก็บม้วนกระดาษทำจากหนังสัตว์(คำภีร์โบราณ)
คำอธิบาย
ในรูปแบบที่ง่ายที่สุด แรกจะประกอบด้วยโลหะแข็งชนิดหนึ่ง (เรียกว่าขั้วไฟฟ้า) ที่จุ่มอยู่ในสารละลายชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย หรือแคตไอออน (cation) (พร่องอิเล็กตรอน) ของโลหะที่ทำเป็นขั้วไฟฟ้า อีกครึ่งเซลล์หนึ่งจะประกอบด้วยโลหะแข็งอีกชนิดหนึ่งทำเป็นขั้วไฟฟ้าที่จุ่มอยู่ในสารละลายอีกชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วย หรือแอนไอออน (anion) (อิเล็กตรอนเกิน) ของโลหะที่ทำเป็นขั้วไฟฟ้านั้นเช่นกัน ทั้งสองครึ่งเซลล์จะเชื่อมถึงกันเพื่อความสมดุลของประจุจากไอออนทั้งสองแบบ ในสาระสำคัญ ภายในครึ่งเซลล์แรกจะเกิดออกซิเดชัน (oxidation) ระหว่างขั้วไฟฟ้ากับสารละลาย ทำให้สายละลายพร่องอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนที่พร่องไปสะสมที่ขั้วไฟฟ้า ภายในครึ่งเซลล์หลังจะเกิดรีดักชัน (reduction) ระหว่างขั้วไฟฟ้ากับสารละลาย ทำให้สารละลายได้รับอิเล็กตรอนเพิ่ม ทำให้ขั้วไฟฟ้าพร่องอิเล็กตรอน (เรียกว่าโฮล) ดังนั้นเมื่อเชื่อมสองครึ่งเซลล์เข้าด้วยกันเป็นหนึ่งเซลล์สมบูรณ์ ปฏิกิริยาโดยรวมจึงเรียกว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ เพื่อให้เกิด สภาวะที่สมดุลสามารถเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ดังต่อไปนี้ (เมื่อ "M" เป็นไอออนบวกของโลหะ ซึ่งหมายถึงอะตอมที่มีประจุไม่สมดุลเนื่องจากการ การสูญเสียของอิเล็กตรอน "n" ตัว)
- Mn+ (สายพันธ์ที่ถูกออกซิไดส์) + ne− ⇌ M (สายพันธ์ที่ถูกรีดักชัน)
เซลล์กัลวานีประกอบด้วยสองครึ่งเซลล์ ขั้วไฟฟ้าของครึ่งเซลล์หนึ่งจะประกอบด้วยโลหะ A และขั้วไฟฟ้าของอีกครึ่งเซลล์หนึ่งจะประกอบด้วยโลหะ B; ดังนั้นปฏิกิริยารีดอกซ์สำหรับสองครึ่งเซลล์แยกกันจะเป็นดังนี้:
- An+ + ne− ⇌ A
- Bm+ + me− ⇌ B
จากนั้นโดยทั่วไปสองโลหะเหล่านี้สามารถทำปฏิกิริยาต่อกันดังนี้ :
- m A + n Bm+ ⇌ n B + m An+
พูดอีกอย่างอะตอมโลหะของหนึ่งครึ่งเซลล์สามารถชักนำให้เกิดการรีดักชันของไอออนบวกโลหะของอีกหนึ่งครึ่งเซลล์; เมื่อระบุกลับกันไอออนบวกโลหะของหนึ่งครึ่งเซลล์สามารถออกซิไดซ์อะตอมโลหะของอีกหนึ่งครึ่งเซลล์ เมื่อโลหะ B มี อิเล็กโทรเนกาติวิตี (ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนของธาตุต่าง ๆ ในโมเลกุลของสารประกอบที่ยึดกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]) มากกว่าโลหะ A, ดังนั้นโลหะ B มีแนวโน้มที่จะขโมยอิเล็กตรอนจากโลหะ A (นั่นคือโลหะ B มีแนวโน้มที่จะออกซิไดซ์โลหะ A) ดังนั้นปฏิกิริยาจะพอใจที่จะเกิดในทิศทางเดียวตามสมการ:
- m A + n Bm+ n B + m An+
ปฏิกิริยาระหว่างโลหะนี้สามารถควบคุมได้ในทางที่จะช่วยให้มีการทำงานที่เป็นประโยชน์ ต่อไปนี้
- ขั้วไฟฟ้าทั้งสองจะเชื่อมต่อกับลวดโลหะเพื่ออิเล็กตรอนที่มีส่วนร่วมในการทำปฏิกิริยา
- ในหนึ่งครึ่งเซลล์ ไอออนบวกของโลหะ B ที่ถูกทำละลายจะรวมกับที่มีอยู่ที่จุดสัมผ้สระหว่างสารละลายและขั้วไฟฟ้าโลหะ B; ไอออนบวกเหล่านี้จึงกลายเป็นกลาง ทำให้พวกมันเกิดการตกตะกอนจากสารละลายไปสะสมกันบนขั้วไฟฟ้าโลหะ B กระบวนการนี้เรียกว่า
- ปฏิกิริยารีดักชันนี้ทำให้เกิดโฮลอิสระสะสมบนขั้วไฟฟ้าโลหะ B อิเล็กตรอนอิสระบนขั้วไฟฟ้าโลหะ A จะถูกดึงผ่านเส้นลวดเข้าไปที่ขั้วไฟฟ้าโลหะ B ผลที่ตามมาก็คืออิเล็กตรอนจะถูกดึงออกจากบางอะตอมของขั้วไฟฟ้าโลหะ A, ราวกับว่าไอออนบวกของโลหะ B กำลังทำปฏิกิริยาโดยตรงกับพวกมัน; บรรดาอะตอมโลหะ A จะกลายเป็นไอออนบวกที่ละลายลงในสารละลายโดยรอบ
- ในขณะที่ปฏิกิริยานี้ดำเนินต่อไป ครึ่งเซลล์ที่มีขั้วไฟฟ้าโลหะ A จะพัฒนาสารละลายที่มีประจุบวก (เพราะไอออนบวกจากโลหะ A ละลายลงในนั้น) ในขณะที่อีกครึ่งเซลล์หนึ่งพัฒนาสารละลายที่มีประจุลบ (เพราะไอออนบวกจากโลหะ B ตกตะกอนหลุดออกจากมัน ปล่อยทิ้งไอออนลบไว้ข้างหลัง); ที่ไม่ได้เจือจางลงเลย การที่มีประจุไม่สมดุลนี้จะหยุดปฏิกิริยา
- สารละลายทั้งสองด้านจะมีการเชื่อมต่อถึงกันด้วยสะพานเกลือหรือแผ่นที่มีรูพรุนเพื่อนำกระแสไอออน (ทั้งไอออนบวกโลหะ A จากสารละลายหนึ่ง, และไอออนลบจากอีกสารละลายหนึ่ง), ซึ่งจะทำให้เกิดสมดุลของประจุทั้งหลายของสารละลายทั้งสองด้าน และการสมดุลจะช่วยให้ปฏิกิริยาระหว่างโลหะ A และโลหะ B ดำเนินการต่อไปได้โดยปราศจากการต่อต้าน
คำนิยาม:
- (anode) เป็นขั้วไฟฟ้าที่เกิดออกซิเดชันกับสารละลายของมัน (สูญเสียอิเล็กตรอน); ในเซลล์กัลวานี แอโนดเป็นขั้วไฟฟ้าลบเนื่องจากเมื่อเกิดออกซิเดชัน สารละลายสูญเสียอิเล็กตรอนหลุดออกมาทิ้งไว้เกาะอยู่บนขั้วไฟฟ้า จากนั้นอิเล็กตรอนเหล่านี้ก็พร้อมที่จะโยกย้ายไปที่แคโทด (cathode) อย่างไรก็ตามในการแยกสลายด้วยไฟฟ้า (อังกฤษ: electrolysis) กระแสไฟฟ้าจะกระตุ้นให้อิเล็กตรอนไหลไปในทิศทางตรงกันข้าม ดังนั้น แอโนดจะเป็นขั้วบวก และคำกล่าวที่ว่า แอโนด ดึงดูด แอนไอออน จึงเป็นจริง (ไอออนประจุลบจะไหลไปยังแอโนด ในขณะที่อิเล็กตรอนถูกขับไล่ออกผ่านเส้นลวด) ขั้วไฟฟ้าโลหะ A เป็นแอโนด
- แคโทด เป็นขั้วไฟฟ้าที่เกิดรีดักชันกับสารละลายของมัน (ได้รับอิเล็กตรอน); ในเซลล์กัลวานี แคโทดเป็นขั้วบวก เพราะสารละลายจะได้รับอิเล็กตรอนมากขึ้น อิเล็กตรอนเหล่านี้มาจากขั้วไฟฟ้าโลหะ B ทำให้ขั้วไฟฟ้าโลหะ B พร่องอิเล็กตรอน และก็มีแนวโน้มมากขึ้นสำหรับไอออนในน้ำสารละลายจะลดลงไปอีกจากอิเล็กตรอนที่เข้ามาจากแอโนด อย่างไรก็ตามในการแยกสลายด้วยไฟฟ้า แคโทดจะเป็นขั้วลบ และจะดึงดูดไอออนบวกจากสารละลาย ในสถานการณ์เช่นนี้คำกล่าวที่ว่า แคโทด ดึงดูด แคตไอออน จึงเป็นจริง (ไอออนโลหะที่มีประจุบวกและที่ถูกออกซิไดซ์จะไหลไปที่แคโทดในขณะที่อิเล็กตรอนเดินทางผ่านเส้นลวด) ขั้วไฟฟ้าโลหะ B เป็นแคโทด
ทองแดงพร้อมที่จะอ๊อกซิไดซ์สังกะสี; สำหรับตามที่ปรากฏในรูป แอโนดเป็นสังกะสีและแคโทดเป็นทองแดง และแอนไอออนในสารละลายเป็นซัลเฟตของโลหะนั้นตามลำดับ เมื่ออุปกรณ์นำไฟฟ้าเชื่อมต่อเข้ากับขั้วไฟฟ้า ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีคือ:
- Zn + Cu2+
→ Zn2+
+ Cu
ขั้วไฟฟ้าสังกะสีจะละลายและทองแดงจะถูกสะสมบนขั้วไฟฟ้าทองแดง
เซลล์กัลวานีมักจะถูกใช้เป็นแหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า โดยธรรมชาติของมัน มันจะผลิตไฟฟ้ากระแสตรง มีแอโนดที่ประกอบด้วยแคดเมียม ปรอท อมัลกัม และแคโทดที่ประกอบด้วยปรอทบริสุทธิ์ มีอิเล็กโทรไลต์เป็นสารละลาย (อิ่มตัว) มี depolarizer เป็นซัลเฟตปรอท เมื่อสารละลายอิเล็กโทรไลต์อิ่มตัว แรงดันไฟฟ้าของเซลล์เป็นสิ่งที่สามารถผลิตขึ้นซ้ำได้เป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้ในปี 1911 มันเป็นถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศสำหรับแรงดันไฟฟ้า
แบตเตอรี่หนึ่งตัวเป็นชุดของเซลล์กัลวานีหลายตัวที่มีการเชื่อมต่อกันในแบบคู่ขนาน ยกตัวอย่างเช่นมีเซลล์กัลวานีหลายตัวที่มีแอโนดและแคโทดประกอบด้วยตะกั่วไดอ๊อกไซด์
แรงดันไฟฟ้าของเซลล์
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์หนึ่งจะถูกกำหนดโดยการใช้สำหรับสองที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนแรกคือการระบุโลหะสองชนิดที่ทำปฏิกิริยาในเซลล์ จากนั้นก็มองหา E0 มีค่าเป็นโวลต์สำหรับแต่ละสอง ศักย์มาตรฐานสำหรับเซลล์จะมีค่าเท่ากับค่า E0 เชิงบวกมากกว่า ลบด้วยค่า E0 เชิงลบมากกว่า
ยกตัวอย่างเช่นในรูปข้างบน สารละลายเป็น CuSO4 และ ZnSO4 สารละลายแต่ละตัวมีแถบโลหะที่สอดคล้องกัน และสะพานเกลือหรือแผ่นที่มีรูพรุนที่เชื่อมระหว่างสองสารละลายนั้นและช่วยให้ไอออน SO42− ไหลได้อย่างอิสระระหว่างสารละลายทองแดงและสังกะสี ในการคำนวณศักย์มาตรฐาน เราก็มองหาปฏิกิริยาครึ่งของทองแดงและสังกะสีและพบว่า:
ดังนั้นปฏิกิริยาโดยรวมคือ
- Cu2+ + Zn ⇌ Cu + Zn2+
ศักย์มาตรฐานสำหรับปฏิกิริยาจะเป็น +0.34 V - (-0.76 V) = 1.10 โวลต์ ขั้วของเซลล์จะถูกกำหนดดังต่อไปนี้ โลหะสังกะสีเป็นรีดักชันมากกว่าโลหะทองแดงอย่างยิ่ง; โดยเทียบเท่า ศักย์ (รีดักชั่น) มาตรฐานสำหรับสังกะสีเป็นลบมากกว่าของทองแดง ดังนั้นโลหะสังกะสีจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับไอออนทองแดงและพัฒนาประจุไฟฟ้าในเชิงบวก , K, สำหรับเซลล์จะถูกกำหนดให้โดย
เมื่อ F' คือ R คือ และ T คืออุณหภูมิเคลวิน สำหรับเซลล์แดนีลล์ K เท่ากับประมาณ 1.5×1037 ดังนั้นที่จุดสมดุล, อิเล็กตรอนไม่กี่ตัวจะถูกถ่ายโอน เพียงพอที่จะทำให้ขั้วไฟฟ้าที่จะถูกประจุ
ศักย์ครึ่งเซลล์จริงจะต้องคำนวณโดยใช้เมื่อสารทำละลายไม่น่าจะอยู่ในสถานะมาตรฐานของมัน
เมื่อ Q เป็น (อังกฤษ: reaction quotient) สมการที่ง่ายกว่าจะเป็น
เมื่อ {Mn+} เป็นของไอออนโลหะในสารละลาย ขั้วโลหะจะอยู่ในสถานะมาตรฐานของมันดังนั้นโดยคำนิยามมันจะมีกิจกรรมหน่วย ในทางปฏิบัติความเข้มข้นจะใช้แทนที่กิจกรรม ศักยภาพของเซลล์ทั้งหมดจะได้รับโดยการรวมศักยภาพสำหรับสองครึ่งเซลล์ ดังนั้นมันจึงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของทั้งสองไอออนโลหะที่ละลายลงในน้ำ
ค่าของ 2.303R/F เป็น 0.19845×10−3 V/K ดังนั้นที่ 25 °C (298.15 K) ศักย์ครึ่งเซลล์จะเปลี่ยนเป็น ถ้าความเข้มข้นของไอออนโลหะมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงโดยปัจจัยของ 10
การคำนวณเหล่านี้จะมีพื้นฐานบนสมมติฐานที่ว่าปฏิกิริยาเคมีทั้งหมดอยู่ในภาวะสมดุล เมื่อมีกระแสไหลในวงจร สภาวะสมดุลจะไม่ประสบความสำเร็จและมีศักย์ของเซลล์มักจะลดลงตามกลไกต่างๆ เช่นการพัฒนาของ นอกจากนี้เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นเมื่อเซลล์กำลังผลิตไฟฟ้า ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์จะเปลี่ยนและแรงดันไฟฟ้าของเซลล์จะลดลง ผลที่ตามมาของการพึ่งพาอุณหภูมิของศักย์มาตรฐานคือว่าแรงดันไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นโดยเซลล์กัลวานีก็ขึนอยู่กับอุณหภูมิเช่นกัน
การกัดกร่อนกัลวานี
บทความหลัก:
การกัดกร่อนกัลวานีเป็นกระบวนการที่กัดกล่อนโลหะในทางไฟฟ้าเคมี
การกัดกร่อนนี้เกิดขึ้นเมื่อโลหะที่ไม่เหมือนกันสองชนิดถูกวางติดกันในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ เช่นน้ำเกลือ สร้างขึ้นเป็นเซลล์กัลวานี เซลล์ก็จะสามารถสร้างขึ้นได้เช่นกันถ้าโลหะเดียวกันถูกวางอยู่ในสารละลายอิเล็กโทรไลต์เข้มช้นสองชนิดแตกต่างกัน จากนั้นศักย์ไฟฟ้าเคมีที่เกิดขึ้นจะพัฒนาขึ้นเป็นกระแสไฟฟ้าที่ละลายวัสดุที่สำคัญน้อยกว่าโดยเป็นการละลายแบบไฟฟ้าเคมี
ชนิดของเซลล์
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- "battery" (def. 4b), Merriam-Webster Online Dictionary (2008). Retrieved 6 August 2008.
- Keithley, Joseph F (1999). Daniell Cell. John Wiley and Sons. pp. 49–51. ISBN .
- Kipnis, Nahum (2003) "Changing a theory: the case of Volta's contact electricity" 2012-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Nuova Voltiana, Vol. 5. Università degli studi di Pavia, 2003 . pp. 144–146
- Clarke, Edwin; Jacyna, L. S. (1992) Nineteenth-Century Origins of Neuroscientific Concepts, University of California Press. . p. 199
- "Milestones:Volta's Electrical Battery Invention, 1799". IEEE Global History Network. IEEE. สืบค้นเมื่อ 26 July 2011.
- Haughton, Brian (2007) Hidden History: Lost Civilizations, Secret Knowledge, and Ancient Mysteries. Career Press. . pp. 129–132
- "An introduction to redox equilibria". Chemguide. สืบค้นเมื่อ 20 July 2014.
- Atkins, P; de Paula (2006). Physical Chemistry. J. (8th. ed.). Oxford University Press. ISBN . Chapter 7, sections on "Equilibrium electrochemistry"
- Atkins, P; de Paula (2006). Physical Chemistry. J. (8th. ed.). Oxford University Press. ISBN . Section 25.12 "Working Galvanic cells"
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esllklwanik hrux esllwxlta xngkvs Galvanic cell hrux Voltaic cell epneslliffaekhmithitngchuxtam luyci klwani hrux xaelssanodr owltatamladb esllnicaihphlngnganiffacakptikiriyaridxksthiekidkhunexngphayinesll odythwipmncaprakxbdwyolhathitangknsxngchnidechuxmtxkndwy hruxsxngkhrungesllthikhndwyeyuxthimiruphrun nayowltaepnphupradisthsungepntwaerk inkarichnganthwip khawa aebtetxri caichkbesllklwaniediyw aetaebtetxrihnungtwmkprakxbdwyesllkhnadelkhlaytwprawtiinpi 1780 nayluyci klwani khnphbwaemuxolhasxngchnidthiaetktangkn echnthxngaedngaelasngkasi thuknamaaetakbswntang khxngesnprasathkhxngkhakbinewlaediywkn khakhxngkbcahdtw ekhaeriykpraktkarnniwa iffacakstw txmanayaexelssanodr owlta idpradisthesllowltawangsxn xngkvs voltaic pile inpi 1800 mnprakxbdwyhlayesllthikhlaykbesllklwaniwangsxnknepnchn xyangirktam owltasrangmnkhunmathnghmdcakwsduthiimichchiwphaphephuxthicathathaythvsdiiffacakstwkhxngklwani aelankthdlxngtxmanay Leopoldo Nobili ephuxtxbsnxngkbkhwamphxicinthvsdismphsiffaolhatxolhakhxngtwekhaexng naykharol Matteucci idepliynmasrangaebtetxrithiprascakwsduchiwphaphodysinechingephuxsnxngtxbtxnayowlta karkhnphbehlaniputhangipsuaebtetxriiffathnghlay esllkhxngowltaepnchuxinladbehtukarnthisakhykhxng IEEE inpi 1999 nay Wilhelm Konig idaenanainpi 1940 wawtthuthieriykwaxacepntwaethnkhxngethkhonolyiesllklwanicakemuxng Parthia obran aebbcalxngthithuketimetmdwykrdsitrikhruxnaxngunekhyaesdngwasamarthphlitaerngdniffaid aetmnkxyuiklcakkhwamaennxnthiwaaebbcalxngniepnwtthuprasngkhephuxichepnaebtetxriinyukhnn nkwichakarxunchiwamncakhlayknmakkbxangthiruckknwaidthukichsahrbkarcdekbmwnkradasthacakhnngstw khaphirobran khaxthibayaephnphngkhxngesllklwanithiichsngkasikbthxngaedng inrupaebbthingaythisud aerkcaprakxbdwyolhaaekhngchnidhnung eriykwakhwiffa thicumxyuinsarlalaychnidhnungthiprakxbdwy hruxaekhtixxxn cation phrxngxielktrxn khxngolhathithaepnkhwiffa xikkhrungesllhnungcaprakxbdwyolhaaekhngxikchnidhnungthaepnkhwiffathicumxyuinsarlalayxikchnidhnungthiprakxbdwy hruxaexnixxxn anion xielktrxnekin khxngolhathithaepnkhwiffannechnkn thngsxngkhrungesllcaechuxmthungknephuxkhwamsmdulkhxngpracucakixxxnthngsxngaebb insarasakhy phayinkhrungesllaerkcaekidxxksiedchn oxidation rahwangkhwiffakbsarlalay thaihsaylalayphrxngxielktrxn odyxielktrxnthiphrxngipsasmthikhwiffa phayinkhrungesllhlngcaekidridkchn reduction rahwangkhwiffakbsarlalay thaihsarlalayidrbxielktrxnephim thaihkhwiffaphrxngxielktrxn eriykwaohl dngnnemuxechuxmsxngkhrungesllekhadwyknepnhnungesllsmburn ptikiriyaodyrwmcungeriykwaptikiriyaridxks ephuxihekid sphawathismdulsamarthekhiynepnsylksniddngtxipni emux M epnixxxnbwkkhxngolha sunghmaythungxatxmthimipracuimsmdulenuxngcakkar karsuyesiykhxngxielktrxn n tw Mn sayphnththithukxxksiids ne M sayphnththithukridkchn esllklwaniprakxbdwysxngkhrungesll khwiffakhxngkhrungesllhnungcaprakxbdwyolha A aelakhwiffakhxngxikkhrungesllhnungcaprakxbdwyolha B dngnnptikiriyaridxkssahrbsxngkhrungesllaeykkncaepndngni An ne A Bm me B caknnodythwipsxngolhaehlanisamarththaptikiriyatxkndngni m A n Bm n B m An phudxikxyangxatxmolhakhxnghnungkhrungesllsamarthchknaihekidkarridkchnkhxngixxxnbwkolhakhxngxikhnungkhrungesll emuxrabuklbknixxxnbwkolhakhxnghnungkhrungesllsamarthxxksiidsxatxmolhakhxngxikhnungkhrungesll emuxolha B mi xielkothrenkatiwiti khwamsamarthinkardungdudxielktrxnkhxngthatutang inomelkulkhxngsarprakxbthiyudkndwyphnthaokhewelnt phcnanukrmsphth sswth makkwaolha A dngnnolha B miaenwonmthicakhomyxielktrxncakolha A nnkhuxolha B miaenwonmthicaxxksiidsolha A dngnnptikiriyacaphxicthicaekidinthisthangediywtamsmkar m A n Bm displaystyle rightarrow n B m An ptikiriyarahwangolhanisamarthkhwbkhumidinthangthicachwyihmikarthanganthiepnpraoychn txipni khwiffathngsxngcaechuxmtxkblwdolhaephuxxielktrxnthimiswnrwminkarthaptikiriya inhnungkhrungesll ixxxnbwkkhxngolha B thithukthalalaycarwmkbthimixyuthicudsmphsrahwangsarlalayaelakhwiffaolha B ixxxnbwkehlanicungklayepnklang thaihphwkmnekidkartktakxncaksarlalayipsasmknbnkhwiffaolha B krabwnkarnieriykwa ptikiriyaridkchnnithaihekidohlxisrasasmbnkhwiffaolha B xielktrxnxisrabnkhwiffaolha A cathukdungphanesnlwdekhaipthikhwiffaolha B phlthitammakkhuxxielktrxncathukdungxxkcakbangxatxmkhxngkhwiffaolha A rawkbwaixxxnbwkkhxngolha B kalngthaptikiriyaodytrngkbphwkmn brrdaxatxmolha A caklayepnixxxnbwkthilalaylnginsarlalayodyrxb inkhnathiptikiriyanidaenintxip khrungesllthimikhwiffaolha A caphthnasarlalaythimipracubwk ephraaixxxnbwkcakolha A lalaylnginnn inkhnathixikkhrungesllhnungphthnasarlalaythimipraculb ephraaixxxnbwkcakolha B tktakxnhludxxkcakmn plxythingixxxnlbiwkhanghlng thiimidecuxcanglngely karthimipracuimsmdulnicahyudptikiriya sarlalaythngsxngdancamikarechuxmtxthungkndwysaphanekluxhruxaephnthimiruphrunephuxnakraaesixxxn thngixxxnbwkolha A caksarlalayhnung aelaixxxnlbcakxiksarlalayhnung sungcathaihekidsmdulkhxngpracuthnghlaykhxngsarlalaythngsxngdan aelakarsmdulcachwyihptikiriyarahwangolha A aelaolha B daeninkartxipidodyprascakkartxtan khaniyam anode epnkhwiffathiekidxxksiedchnkbsarlalaykhxngmn suyesiyxielktrxn inesllklwani aexondepnkhwiffalbenuxngcakemuxekidxxksiedchn sarlalaysuyesiyxielktrxnhludxxkmathingiwekaaxyubnkhwiffa caknnxielktrxnehlanikphrxmthicaoykyayipthiaekhothd cathode xyangirktaminkaraeykslaydwyiffa xngkvs electrolysis kraaesiffacakratunihxielktrxnihlipinthisthangtrngknkham dngnn aexondcaepnkhwbwk aelakhaklawthiwa aexond dungdud aexnixxxn cungepncring ixxxnpraculbcaihlipyngaexond inkhnathixielktrxnthukkhbilxxkphanesnlwd khwiffaolha A epnaexond aekhothd epnkhwiffathiekidridkchnkbsarlalaykhxngmn idrbxielktrxn inesllklwani aekhothdepnkhwbwk ephraasarlalaycaidrbxielktrxnmakkhun xielktrxnehlanimacakkhwiffaolha B thaihkhwiffaolha B phrxngxielktrxn aelakmiaenwonmmakkhunsahrbixxxninnasarlalaycaldlngipxikcakxielktrxnthiekhamacakaexond xyangirktaminkaraeykslaydwyiffa aekhothdcaepnkhwlb aelacadungdudixxxnbwkcaksarlalay insthankarnechnnikhaklawthiwa aekhothd dungdud aekhtixxxn cungepncring ixxxnolhathimipracubwkaelathithukxxksiidscaihlipthiaekhothdinkhnathixielktrxnedinthangphanesnlwd khwiffaolha B epnaekhothd thxngaedngphrxmthicaxxksiidssngkasi sahrbtamthipraktinrup aexondepnsngkasiaelaaekhothdepnthxngaedng aelaaexnixxxninsarlalayepnsleftkhxngolhanntamladb emuxxupkrnnaiffaechuxmtxekhakbkhwiffa ptikiriyaiffaekhmikhux Zn Cu2 Zn2 Cu khwiffasngkasicalalayaelathxngaedngcathuksasmbnkhwiffathxngaedng esllklwanimkcathukichepnaehlngthimakhxngphlngnganiffa odythrrmchatikhxngmn mncaphlitiffakraaestrng miaexondthiprakxbdwyaekhdemiym prxth xmlkm aelaaekhothdthiprakxbdwyprxthbrisuththi mixielkothriltepnsarlalay ximtw mi depolarizer epnsleftprxth emuxsarlalayxielkothriltximtw aerngdniffakhxngesllepnsingthisamarthphlitkhunsaidepnxyangdi dwyehtuniinpi 1911 mnepnthukkahndihepnmatrthanrahwangpraethssahrbaerngdniffa aebtetxrihnungtwepnchudkhxngesllklwanihlaytwthimikarechuxmtxkninaebbkhukhnan yktwxyangechnmiesllklwanihlaytwthimiaexondaelaaekhothdprakxbdwytakwidxxkisdaerngdniffakhxngesllskyiffamatrthankhxngesllhnungcathukkahndodykarichsahrbsxngthiekiywkhxng khntxnaerkkhuxkarrabuolhasxngchnidthithaptikiriyainesll caknnkmxngha E0 mikhaepnowltsahrbaetlasxng skymatrthansahrbesllcamikhaethakbkha E0 echingbwkmakkwa lbdwykha E0 echinglbmakkwa yktwxyangechninrupkhangbn sarlalayepn CuSO4 aela ZnSO4 sarlalayaetlatwmiaethbolhathisxdkhlxngkn aelasaphanekluxhruxaephnthimiruphrunthiechuxmrahwangsxngsarlalaynnaelachwyihixxxn SO42 ihlidxyangxisrarahwangsarlalaythxngaedngaelasngkasi inkarkhanwnskymatrthan erakmxnghaptikiriyakhrungkhxngthxngaedngaelasngkasiaelaphbwa Cu2 2 e Cu E0 0 34 V Zn2 2 e Zn E0 0 76 V dngnnptikiriyaodyrwmkhux Cu2 Zn Cu Zn2 skymatrthansahrbptikiriyacaepn 0 34 V 0 76 V 1 10 owlt khwkhxngesllcathukkahnddngtxipni olhasngkasiepnridkchnmakkwaolhathxngaedngxyangying odyethiybetha sky ridkchn matrthansahrbsngkasiepnlbmakkwakhxngthxngaedng dngnnolhasngkasicasuyesiyxielktrxnihkbixxxnthxngaedngaelaphthnapracuiffainechingbwk K sahrbesllcathukkahndihody ln K nFE0RT displaystyle ln K frac nFE 0 RT emux F khuxRkhux aelaTkhuxxunhphumiekhlwin sahrbesllaednillKethakbpraman 1 5 1037 dngnnthicudsmdul xielktrxnimkitwcathukthayoxn ephiyngphxthicathaihkhwiffathicathukpracu skykhrungesllcringcatxngkhanwnodyichemuxsarthalalayimnacaxyuinsthanamatrthankhxngmn Ehalf cell E0 RTnFlne Q displaystyle E text half cell E 0 frac RT nF ln e Q emux Q epn xngkvs reaction quotient smkarthingaykwacaepn Ehalf cell E0 2 303RTnFlog10 Mn displaystyle E text half cell E 0 2 303 frac RT nF log 10 M n emux Mn epnkhxngixxxnolhainsarlalay khwolhacaxyuinsthanamatrthankhxngmndngnnodykhaniyammncamikickrrmhnwy inthangptibtikhwamekhmkhncaichaethnthikickrrm skyphaphkhxngesllthnghmdcaidrbodykarrwmskyphaphsahrbsxngkhrungesll dngnnmncungkhunxyukbkhwamekhmkhnkhxngthngsxngixxxnolhathilalaylnginna khakhxng 2 303R F epn 0 19845 10 3 V K dngnnthi 25 C 298 15 K skykhrungesllcaepliynepn 0 05918V n displaystyle 0 05918V n thakhwamekhmkhnkhxngixxxnolhamikarephimkhunhruxldlngodypccykhxng 10 Ehalf cell E0 0 05918Vnlog10 Mn displaystyle E text half cell E 0 frac 0 05918V n log 10 M n karkhanwnehlanicamiphunthanbnsmmtithanthiwaptikiriyaekhmithnghmdxyuinphawasmdul emuxmikraaesihlinwngcr sphawasmdulcaimprasbkhwamsaercaelamiskykhxngesllmkcaldlngtamkliktang echnkarphthnakhxng nxkcaknienuxngcakptikiriyaekhmicaekidkhunemuxesllkalngphlitiffa khwamekhmkhnkhxngxielkothriltcaepliynaelaaerngdniffakhxngesllcaldlng phlthitammakhxngkarphungphaxunhphumikhxngskymatrthankhuxwaaerngdniffathiphlitkhunodyesllklwanikkhunxyukbxunhphumiechnknkarkdkrxnklwanibthkhwamhlk karkdkrxnklwaniepnkrabwnkarthikdklxnolhainthangiffaekhmi karkdkrxnniekidkhunemuxolhathiimehmuxnknsxngchnidthukwangtidkninsarlalayxielkothrilt echnnaeklux srangkhunepnesllklwani esllkcasamarthsrangkhunidechnknthaolhaediywknthukwangxyuinsarlalayxielkothriltekhmchnsxngchnidaetktangkn caknnskyiffaekhmithiekidkhuncaphthnakhunepnkraaesiffathilalaywsduthisakhynxykwaodyepnkarlalayaebbiffaekhmichnidkhxngeslleslliffaekhmiduephimxangxing battery def 4b Merriam Webster Online Dictionary 2008 Retrieved 6 August 2008 Keithley Joseph F 1999 Daniell Cell John Wiley and Sons pp 49 51 ISBN 0 7803 1193 0 Kipnis Nahum 2003 Changing a theory the case of Volta s contact electricity 2012 02 05 thi ewyaebkaemchchin Nuova Voltiana Vol 5 Universita degli studi di Pavia 2003 ISBN 88 203 3273 6 pp 144 146 Clarke Edwin Jacyna L S 1992 Nineteenth Century Origins of Neuroscientific Concepts University of California Press ISBN 0 520 07879 9 p 199 Milestones Volta s Electrical Battery Invention 1799 IEEE Global History Network IEEE subkhnemux 26 July 2011 Haughton Brian 2007 Hidden History Lost Civilizations Secret Knowledge and Ancient Mysteries Career Press ISBN 1564148971 pp 129 132 An introduction to redox equilibria Chemguide subkhnemux 20 July 2014 Atkins P de Paula 2006 Physical Chemistry J 8th ed Oxford University Press ISBN 978 0 19 870072 2 Chapter 7 sections on Equilibrium electrochemistry Atkins P de Paula 2006 Physical Chemistry J 8th ed Oxford University Press ISBN 978 0 19 870072 2 Section 25 12 Working Galvanic cells