หลังสงครามโลกครั้งที่สองมีกำลังพลชาวญี่ปุ่นจำนวน 560,000 ถึง 760,000 นายในสหภาพโซเวียตและประเทศมองโกเลียที่ถูกกักกันเพื่อใช้งาน ณ ค่ายแรงงานในฐานะเชลยศึก ในจำนวนนี้ คาดว่าระหว่าง 60,000 ถึง 347,000 นายเสียชีวิตในการถูกจองจำ
กองทัพญี่ปุ่นประมาณ 3.5 ล้านนายนอกประเทศญี่ปุ่นส่วนใหญ่ถูกปลดอาวุธโดยสหรัฐกับจีนก๊กมินตั๋ง และถูกส่งตัวกลับประเทศใน ค.ศ. 1946 ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกได้จับเชลยชาวญี่ปุ่น 35,000 นาย ระหว่างเดือนธันวาคม ค.ศ. 1941 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 กล่าวคือ ก่อนการยอมจำนนของญี่ปุ่น สหภาพโซเวียตควบคุมเชลยศึกของญี่ปุ่นไว้นานกว่ามาก และใช้พวกเขาเป็นกำลังแรงงาน
ประวัติ
ชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ที่ถูกคุมขังในสหภาพโซเวียตไม่คิดว่าตนเองเป็น "เชลยศึก" และเรียกตนเองว่า "ผู้ถูกกักกัน" เพราะพวกเขาสมัครใจวางอาวุธหลังจากการยอมจำนนของญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการ กล่าวคือ หลังจากสิ้นสุดความขัดแย้งทางทหาร จำนวนเชลยชาวญี่ปุ่นที่ถูกจับในการสู้รบมีน้อยมาก
หลังจากความพ่ายแพ้ของกองทัพคันโตในแมนจูเรีย เชลยศึกชาวญี่ปุ่นได้ถูกส่งจากแมนจูเรีย, เกาหลี, เกาะซาฮาลินใต้ และหมู่เกาะคูริล ไปยังหมู่เกาะคูริล, ดินแดนฮาบารอฟสค์, ดินแดนครัสโนยาสค์, คาซัคสถาน ( และ), และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก ซึ่งใน ค.ศ. 1946 ค่ายแรงงาน 49 แห่งสำหรับเชลยศึกชาวญี่ปุ่นภายใต้การบริหารของสามารถรองรับคนได้ประมาณ 500,000 คน นอกจากนี้ ยังมีสองค่ายสำหรับผู้ถูกตัดสินว่ามีความผิดทางอาญาต่าง ๆ เชลยถูกแบ่งออกเป็น 1,000 หน่วยบุคคล ตลอดจนพลเรือนชาวญี่ปุ่นทั้งชายและหญิง รวมทั้งบางคนก็ถูกคุมขังเช่นกัน เมื่อมีทหารไม่เพียงพอที่จะเติมเต็มหน่วย
การจัดการเชลยศึกเป็นไปตามกฤษฎีกาของหมายเลข 9898cc "เกี่ยวกับการรับ, ที่พัก และการใช้แรงงานของเชลยศึกชาวญี่ปุ่น" ("О приеме, размещении, трудовом использовании военнопленных японской армии") ลงวันที่ 23 สิงหาคม ค.ศ. 1945
ชาวญี่ปุ่นจำนวนมากถูกมอบหมายให้ก่อสร้าง (กว่า 200,000 นาย) ในแปดค่าย ณ (สองค่ายสำหรับสองทางแยกรถไฟ), , สถานีรถไฟ (ดินแดนฮาบารอฟสค์), สถานีรถไฟ (ดินแดนฮาบารอฟสค์), (), และ (แคว้นอีร์คุตสค์)
ส่วนการส่งเชลยศึกของญี่ปุ่นกลับประเทศได้เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1946
ค.ศ. | จำนวนที่ปล่อย | หมายเหตุ |
---|---|---|
1946 | 18,616 นาย | |
1947 | 166,240 นาย | |
1948 | 175,000 นาย | |
1949 | 97,000 นาย | โอน 971 นายสู่สาธารณรัฐประชาชนจีน |
1950 | 1,585 นาย | เหลือ 2,988 นาย ที่เหลืออยู่ในสหภาพโซเวียต |
ซึ่งจุดเริ่มต้นใน ค.ศ. 1949 มีรายงานว่าผู้เดินทางกลับไม่ให้ความร่วมมือและเป็นปรปักษ์เมื่อกลับมายังประเทศญี่ปุ่น เนื่องมาจากการโฆษณาชวนเชื่อของคอมมิวนิสต์ที่พวกเขาได้รับในระหว่างการถูกจองจำ อุบัติการณ์เหล่านี้ส่งผลให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นได้รับการรับรู้เชิงลบมากขึ้นเกี่ยวกับทหารที่กลับมา และเพิ่มความเป็นปรปักษ์ของต่อฝ่ายซ้ายในญี่ปุ่น
ผู้ที่เหลือหลังจาก ค.ศ. 1950 ถูกควบคุมตัวโดยถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาก่ออาชญากรรมต่าง ๆ การปล่อยตัวดำเนินต่อไปตั้งแต่ ค.ศ. 1953 ภายใต้การนิรโทษกรรมต่าง ๆ กระทั่งหลังจากการเสียชีวิตของโจเซฟ สตาลิน และในเวลาต่อมา ทัศนคติของโซเวียตต่อนักโทษชาวญี่ปุ่นที่เหลือก็เปลี่ยนไปอย่างมาก พวกเขาได้รับการพาไปท่องเที่ยวตามเมืองต่าง ๆ และได้รับอนุญาตให้ซื้อของขวัญให้แก่ครอบครัวพร้อมกับเจ้าหน้าที่โซเวียต และก่อนที่จะส่งตัวกลับประเทศ งานเลี้ยงในฮาบารอฟสค์ซึ่งจัดโดย ได้มีเชลยระดับสูงเข้าร่วม เช่น ส่วนกลุ่มเชลยชาวศึกญี่ปุ่นกลุ่มสุดท้าย 1,025 นายได้รับการปล่อยตัวเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1956
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- . Sankeishinbun. 24 July 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2009. สืบค้นเมื่อ 21 September 2009.
- Japanese POW group says files on over 500,000 held in Moscow, BBC News, 7 March 1998
- UN Press Release, , 56th session, 13 April 2000.
- POW in the USSR 1939–1956:Documents and Materials 2 พฤศจิกายน 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Moscow (2000) (Военнопленные в СССР. 1939–1956: Документы и материалы Науч.-исслед. ин-т проблем экон. истории ХХ века и др.; Под ред. М.М. Загорулько. – М.: Логос, 2000. – 1118 с.: ил.) ISBN
- Gulag: A History, Doubleday, April 2003, ISBN ; page 431.Introduction online 13 ตุลาคม 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
- Ulrich Straus. "The Anguish of Surrender: Japanese POWs of World War II 8 กรกฎาคม 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน". Seattle and London: University of Washington Press, 2003. ISBN .
- Japanese POW in the USSR (ในภาษารัสเซีย)
- Watt, Lori (2010). When Empire Comes Home: Repatriation and Reintegration in Postwar Japan. Harvard University Asia Center. ISBN .
- King, Amy; Muminov, Sherzod (2022). ""Japan Still Has Cadres Remaining"". Journal of Cold War Studies. 24 (3): 200–230. doi:10.1162/jcws_a_01093. ISSN 1520-3972. S2CID 252014619.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Japanese POW in Primorye (1945–1949)"
- Issue 1: "POW Labor in Coal Industry" ("Японские военнопленные в Приморье (1945–1949 гг.) Вып.1 Труд военнопленных в угольной промышленности" Владивосток: Государственный архив Приморского края, Мор. гос. ун-т им. адм. Г. И. Невельского) 2005.- 152 pp. (ในภาษารัสเซีย)
- Issue 2: "POW Labour in Various Spheres of the Notional Economy of the Primorsky Krai"(Японские военнопленные в Приморье (1945–1949 гг.) : документы Государственного архива Приморского края Выпуск 2: Труд военнопленных в отраслях народного хозяйства Приморского края, 2006 ISBN
- Nicole Piper, "War and Memory: Victim Identity and the Struggle for Compensation in Japan" War & Society (2001) vol. 19, issue 1, pp. 131–148.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hlngsngkhramolkkhrngthisxngmikalngphlchawyipuncanwn 560 000 thung 760 000 nayinshphaphosewiytaelapraethsmxngokeliythithukkkknephuxichngan n khayaerngnganinthanaechlysuk incanwnni khadwarahwang 60 000 thung 347 000 nayesiychiwitinkarthukcxngcathharyipunthiedinthangklbcakisbieriyrxnakhunfngcakeruxthiimsuru cnghwdekiywot praethsyipun in kh s 1946 kxngthphyipunpraman 3 5 lannaynxkpraethsyipunswnihythukpldxawuthodyshrthkbcinkkmintng aelathuksngtwklbpraethsin kh s 1946 faysmphnthmitrtawntkidcbechlychawyipun 35 000 nay rahwangeduxnthnwakhm kh s 1941 thungwnthi 15 singhakhm kh s 1945 klawkhux kxnkaryxmcannkhxngyipun shphaphosewiytkhwbkhumechlysukkhxngyipuniwnankwamak aelaichphwkekhaepnkalngaerngnganprawtichawyipunswnihythithukkhumkhnginshphaphosewiytimkhidwatnexngepn echlysuk aelaeriyktnexngwa phuthukkkkn ephraaphwkekhasmkhricwangxawuthhlngcakkaryxmcannkhxngyipunxyangepnthangkar klawkhux hlngcaksinsudkhwamkhdaeyngthangthhar canwnechlychawyipunthithukcbinkarsurbminxymak hlngcakkhwamphayaephkhxngkxngthphkhnotinaemncueriy echlysukchawyipunidthuksngcakaemncueriy ekahli ekaasahalinit aelahmuekaakhuril ipynghmuekaakhuril dinaednhabarxfskh dinaednkhrsonyaskh khaskhsthan aela aelasatharnrthsngkhmniymosewiytxusebk sungin kh s 1946 khayaerngngan 49 aehngsahrbechlysukchawyipunphayitkarbriharkhxngsamarthrxngrbkhnidpraman 500 000 khn nxkcakni yngmisxngkhaysahrbphuthuktdsinwamikhwamphidthangxayatang echlythukaebngxxkepn 1 000 hnwybukhkhl tlxdcnphleruxnchawyipunthngchayaelahying rwmthngbangkhnkthukkhumkhngechnkn emuxmithharimephiyngphxthicaetimetmhnwy karcdkarechlysukepniptamkvsdikakhxnghmayelkh 9898cc ekiywkbkarrb thiphk aelakarichaerngngankhxngechlysukchawyipun O prieme razmeshenii trudovom ispolzovanii voennoplennyh yaponskoj armii lngwnthi 23 singhakhm kh s 1945 chawyipuncanwnmakthukmxbhmayihkxsrang kwa 200 000 nay inaepdkhay n sxngkhaysahrbsxngthangaeykrthif sthanirthif dinaednhabarxfskh sthanirthif dinaednhabarxfskh aela aekhwnxirkhutskh swnkarsngechlysukkhxngyipunklbpraethsiderimkhunin kh s 1946 kh s canwnthiplxy hmayehtu1946 18 616 nay1947 166 240 nay1948 175 000 nay1949 97 000 nay oxn 971 naysusatharnrthprachachncin1950 1 585 nay ehlux 2 988 nay thiehluxxyuinshphaphosewiyt sungcuderimtnin kh s 1949 miraynganwaphuedinthangklbimihkhwamrwmmuxaelaepnprpksemuxklbmayngpraethsyipun enuxngmacakkarokhsnachwnechuxkhxngkhxmmiwnistthiphwkekhaidrbinrahwangkarthukcxngca xubtikarnehlanisngphlihprachachnchawyipunidrbkarrbruechinglbmakkhunekiywkbthharthiklbma aelaephimkhwamepnprpkskhxngtxfaysayinyipun phuthiehluxhlngcak kh s 1950 thukkhwbkhumtwodythuktdsinwamikhwamphidinkhxhakxxachyakrrmtang karplxytwdaenintxiptngaet kh s 1953 phayitkarnirothskrrmtang krathnghlngcakkaresiychiwitkhxngocesf stalin aelainewlatxma thsnkhtikhxngosewiyttxnkothschawyipunthiehluxkepliynipxyangmak phwkekhaidrbkarphaipthxngethiywtamemuxngtang aelaidrbxnuyatihsuxkhxngkhwyihaekkhrxbkhrwphrxmkbecahnathiosewiyt aelakxnthicasngtwklbpraeths nganeliynginhabarxfskhsungcdody idmiechlyradbsungekharwm echn swnklumechlychawsukyipunklumsudthay 1 025 nayidrbkarplxytwemuxwnthi 23 thnwakhm kh s 1956duephimechlysukchawyipuninsngkhramolkkhrngthisxng karbukkhrxngaemncueriykhxngshphaphosewiytxangxing Sankeishinbun 24 July 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 26 July 2009 subkhnemux 21 September 2009 Japanese POW group says files on over 500 000 held in Moscow BBC News 7 March 1998 UN Press Release 56th session 13 April 2000 POW in the USSR 1939 1956 Documents and Materials 2 phvscikayn 2007 thi ewyaebkaemchchin Moscow 2000 Voennoplennye v SSSR 1939 1956 Dokumenty i materialy Nauch issled in t problem ekon istorii HH veka i dr Pod red M M Zagorulko M Logos 2000 1118 s il ISBN 5 88439 093 9 Gulag A History Doubleday April 2003 ISBN 0 7679 0056 1 page 431 Introduction online 13 tulakhm 2007 thi ewyaebkaemchchin Ulrich Straus The Anguish of Surrender Japanese POWs of World War II 8 krkdakhm 2007 thi ewyaebkaemchchin Seattle and London University of Washington Press 2003 ISBN 978 0 295 98336 3 Japanese POW in the USSR inphasarsesiy Watt Lori 2010 When Empire Comes Home Repatriation and Reintegration in Postwar Japan Harvard University Asia Center ISBN 978 0 674 05598 8 King Amy Muminov Sherzod 2022 Japan Still Has Cadres Remaining Journal of Cold War Studies 24 3 200 230 doi 10 1162 jcws a 01093 ISSN 1520 3972 S2CID 252014619 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb echlysukchawyipuninshphaphosewiyt Japanese POW in Primorye 1945 1949 Issue 1 POW Labor in Coal Industry Yaponskie voennoplennye v Primore 1945 1949 gg Vyp 1 Trud voennoplennyh v ugolnoj promyshlennosti Vladivostok Gosudarstvennyj arhiv Primorskogo kraya Mor gos un t im adm G I Nevelskogo 2005 152 pp inphasarsesiy Issue 2 POW Labour in Various Spheres of the Notional Economy of the Primorsky Krai Yaponskie voennoplennye v Primore 1945 1949 gg dokumenty Gosudarstvennogo arhiva Primorskogo kraya Vypusk 2 Trud voennoplennyh v otraslyah narodnogo hozyajstva Primorskogo kraya 2006 ISBN 5 8343 0355 2 Nicole Piper War and Memory Victim Identity and the Struggle for Compensation in Japan War amp Society 2001 vol 19 issue 1 pp 131 148