บทความนี้ไม่มีจาก(เมษายน 2564) |
เขตสงวนชีวมณฑล / พื้นที่สงวนชีวมณฑล (อังกฤษ: biosphere reserve) พื้นที่สงวนชีวมณฑลนั้นหมายถึงพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นระบบนเวศบนบก ทะเล ชายฝั่ง หรือใด ๆ รวมกัน ที่ได้รับความสำคัญภายใต้โครงการมนุษย์และชีวมณฑลของยูเนสโก (Man and the Biosphere (MAB) Programme) ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกรอบบัญญัติเครือข่ายพื้นที่สงวนชีวมณฑลโลก (Statutory Framework of World Network of Biosphere Reserve Network)
พื้นที่สงวนชีวมณฑลมีความสำคัญในฐานะพื้นที่เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นพื้นที่ที่เปิดรับสหวิทยาการเข้ามาประยุกต์ใช้ เพื่อสร้างองค์ความรู้ และการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เพื่อรักษาสมดุลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบนิเวศและระบบสังคม รวมถึงการป้องกันและจัดการความขัดแย้งที่จะเกิดจากการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ พื้นที่สงวนชีวมณฑลเป็นพื้นที่ที่สร้างแนวทางในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เป็นวิกฤตของโลกในขนาดของการจัดการในระดับท้องถิ่น พื้นที่สงวนชีวมณฑลทั่วโลกนั้นประกอบด้วยทั้งระบบนิเวศบนบก ทะเลและชายฝั่ง แต่ละพื้นที่มีการสนับสนุนแนวทางการจัดการที่ประนีประนอมทั้งในด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและการพัฒนาที่ยั่งยืน
พื้นที่สงวนชีวมณฑลจะต้องเสนอโดยรัฐสมาชิกผ่านกระบวนการพิจารณาที่กำหนดไว้ พื้นที่สงวนชีวมณฑลที่จัดตั้งนั้นยังคงอยู่ภายใต้อธิปไตยของรัฐที่พื้นที่สงวนชีวมณฑลนั้น ๆ ตั้งอยู่ การประกาศจัดตั้งพื้นที่สงวนชีวมณฑลดำเนินการโดยโครงการมนุษย์และชีวมณฑลของยูเนสโก โดยเลขาธิการยูเนสโกเป็นผู้ลงนามประกาศจัดตั้งตามมติของคณะกรรมการสภาพประสานงานระหว่างประเทศว่าด้วยโครงการด้านมนุษย์และชีวมณฑล (MAB International Coordinating Council: MAB ICC) พื้นที่ที่ประกาศมีสถานะพื้นที่ที่ได้รับความสำคัญในระดับนานาชาติ
หน้าที่ของพื้นที่สงวนชีวมณฑล
- การอนุรักษ์ : ป้องกันรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ และภูมิทัศน์ พื้นที่สงวนชีวมณฑลให้ความสำคัญกับการดูแลพลวัตรทั้งทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมในพื้นที่
- การพัฒนา : การสนับสนุนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งในเชิงสังคมวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
- โลจิสติกส์ขององค์ความรู้ : พื้นที่สงวนชีวมณฑลสนับสนุนการศึกษา วิจัย ฝึกอบรม การติดตามการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงการสร้างองค์ความรู้ในการจัดการประเด็นปัญหาต่างๆที่เหมาะสมกับสภาพการณ์ของแต่ละท้องถิ่น
แนวทางการจัดการ
เพื่อตอบสนองต่อหน้าที่ของพื้นที่สงวนชีวมณฑล การแบ่งเขตการจัดการได้ถูกนำมาใช้โดยคำนึงถึงรูปแบบของภูมิทัศน์ การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ และความเข้มข้นของกิจกรรมมนุษย์ เพื่อเป็นแนวทางในการสนับสนุนนโยบายของท้องถิ่นให้เป็นไปตามแนวทางที่สอดคล้องกับการสร้างสมดุลระหว่างธรรมชาติกับกิจกรรมของมนุษย์
- พื้นที่แกนกลาง มักเป็นส่่วนหนึ่งของพื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย เป็นพื้นที่ที่สงวนธรรมชาติไว้ให้กระบวนการและพลวัตรทางธรรมชาติต่าง ๆ ดำเนินไปโดยตัวของมันเอง โดยไม่มีการแทรกแซงโดยมนุษย์ เว้นแต่การติดตามการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ
- เขตกันชน อยู่ล้อมรอบพื้นที่แกนกลางไว้เพื่อลดผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ที่จะมีผลต่อธรรมชาติในแกนกลาง พื้นที่เป็นพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์หรือใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิทัศน์อย่างยั่งยืนด้วยกิจกรรมที่มีผลกระทบต่ำ
- พื้นที่เปลี่ยนผ่าน เป็นพื้นที่ที่มีกิจกรรมมนุษย์เข้มข้น แต่ทั้งนี้ จะต้องได้รับการส่งเสริมให้เป็นตัวอย่างของการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ัยั่งยืน
แหล่งข้อมูลอื่น
- UNESCO - MAB Programme โครงการมนุษย์และชีวมณฑลขององค์การยูเนสโก
- UNESCO - The World Network of Biosphere Reserves เครือข่ายโลกของเขตสงวนชีวมณฑล
- GIZ – Biosphere Reserves – inspiring action for Agenda 2030
- What are Biosphere Reserves พื้นที่สงวนชีวมณฑลคืออะไร
- พื้นที่สงวนชีวมณฑลในประเทศไทย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk emsayn 2564 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ekhtsngwnchiwmnthl phunthisngwnchiwmnthl xngkvs biosphere reserve phunthisngwnchiwmnthlnnhmaythungphunthi imwacaepnrabbnewsbnbk thael chayfng hruxid rwmkn thiidrbkhwamsakhyphayitokhrngkarmnusyaelachiwmnthlkhxngyuensok Man and the Biosphere MAB Programme sungepniptamhlkeknthkhxngkrxbbyytiekhruxkhayphunthisngwnchiwmnthlolk Statutory Framework of World Network of Biosphere Reserve Network phunthisngwnchiwmnthlmikhwamsakhyinthanaphunthiephuxkareriynruekiywkbkarphthnathiyngyun epnphunthithiepidrbshwithyakarekhamaprayuktich ephuxsrangxngkhkhwamru aelakarcdkarkbkarepliynaeplngtang ephuxrksasmdulkhxngptismphnthrahwangrabbniewsaelarabbsngkhm rwmthungkarpxngknaelacdkarkhwamkhdaeyngthicaekidcakkarxnurksaelaichpraoychncakkhwamhlakhlaythangchiwphaphinphunthi phunthisngwnchiwmnthlepnphunthithisrangaenwthanginkarrbmuxkbkarepliynaeplngthiepnwikvtkhxngolkinkhnadkhxngkarcdkarinradbthxngthin phunthisngwnchiwmnthlthwolknnprakxbdwythngrabbniewsbnbk thaelaelachayfng aetlaphunthimikarsnbsnunaenwthangkarcdkarthipranipranxmthngindankarxnurkskhwamhlakhlaythangchiwphaphaelakarphthnathiyngyun phunthisngwnchiwmnthlcatxngesnxodyrthsmachikphankrabwnkarphicarnathikahndiw phunthisngwnchiwmnthlthicdtngnnyngkhngxyuphayitxthipitykhxngrththiphunthisngwnchiwmnthlnn tngxyu karprakascdtngphunthisngwnchiwmnthldaeninkarodyokhrngkarmnusyaelachiwmnthlkhxngyuensok odyelkhathikaryuensokepnphulngnamprakascdtngtammtikhxngkhnakrrmkarsphaphprasannganrahwangpraethswadwyokhrngkardanmnusyaelachiwmnthl MAB International Coordinating Council MAB ICC phunthithiprakasmisthanaphunthithiidrbkhwamsakhyinradbnanachatihnathikhxngphunthisngwnchiwmnthlkarxnurks pxngknrksakhwamhlakhlaythangchiwphaph rabbniews aelaphumithsn phunthisngwnchiwmnthlihkhwamsakhykbkarduaelphlwtrthngthangthrrmchatiaelathangwthnthrrminphunthi karphthna karsnbsnunkarphthnathangesrsthkicaelasngkhminphunthiihsxdkhlxngkbaenwthangkarphthnathiyngyunthnginechingsngkhmwthnthrrmaelasingaewdlxm olcistikskhxngxngkhkhwamru phunthisngwnchiwmnthlsnbsnunkarsuksa wicy fukxbrm kartidtamkarepliynaeplngdansingaewdlxm rwmthungkarsrangxngkhkhwamruinkarcdkarpraednpyhatangthiehmaasmkbsphaphkarnkhxngaetlathxngthinaenwthangkarcdkarephuxtxbsnxngtxhnathikhxngphunthisngwnchiwmnthl karaebngekhtkarcdkaridthuknamaichodykhanungthungrupaebbkhxngphumithsn karichpraoychnthidininphunthi aelakhwamekhmkhnkhxngkickrrmmnusy ephuxepnaenwthanginkarsnbsnunnoybaykhxngthxngthinihepniptamaenwthangthisxdkhlxngkbkarsrangsmdulrahwangthrrmchatikbkickrrmkhxngmnusy phunthiaeknklang mkepnswnhnungkhxngphunthixnurkstamkdhmay epnphunthithisngwnthrrmchatiiwihkrabwnkaraelaphlwtrthangthrrmchatitang daeninipodytwkhxngmnexng odyimmikaraethrkaesngodymnusy ewnaetkartidtamkarepliynaeplngkhxngrabbniews ekhtknchn xyulxmrxbphunthiaeknklangiwephuxldphlkrathbcakkickrrmkhxngmnusythicamiphltxthrrmchatiinaeknklang phunthiepnphunthithimikarxnurkshruxichpraoychncakkhwamhlakhlaythangchiwphaphaelaphumithsnxyangyngyundwykickrrmthimiphlkrathbta phunthiepliynphan epnphunthithimikickrrmmnusyekhmkhn aetthngni catxngidrbkarsngesrimihepntwxyangkhxngkarphlitaelabriophkhthiepnmitrtxsingaewdlxmaelakarphthnathiyngyunaehlngkhxmulxunUNESCO MAB Programme okhrngkarmnusyaelachiwmnthlkhxngxngkhkaryuensok UNESCO The World Network of Biosphere Reserves ekhruxkhayolkkhxngekhtsngwnchiwmnthl GIZ Biosphere Reserves inspiring action for Agenda 2030 What are Biosphere Reserves phunthisngwnchiwmnthlkhuxxair phunthisngwnchiwmnthlinpraethsithy