เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง คือแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติของประเทศไทย ประกอบด้วยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสองเขต ได้แก่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ตั้งอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี ตาก และกาญจนบุรี ทางตะวันตกของประเทศใกล้กับชายแดนประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่ 622,200 เฮกตาร์ เป็นพื้นที่อนุรักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในคาบสมุทรอินโดจีน เป็นพื้นที่ป่าที่สามารถเข้าถึงได้น้อยที่สุดและเป็นบริเวณที่รบกวนน้อยที่สุดของประเทศ โดยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ร้อยละ 77 (โดยเฉพาะช้างและเสือ) นกขนาดใหญ่ร้อยละ 50 และสัตว์มีกระดูกสันหลังบกร้อยละ 33 ที่พบในภูมิภาคสามารถพบได้ในแหล่งมรดกโลกแห่งนี้
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่- ห้วยขาแข้ง * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
ช้างป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง | |
พิกัด | 15°20′N 98°55′E / 15.333°N 98.917°E |
(ประเทศ) | ไทย |
ภูมิภาค ** | เอเชียและแปซิฟิก |
ประเภท | มรดกทางธรรมชาติ |
(เกณฑ์พิจารณา) | (vii), (ix), (x) |
อ้างอิง | 591 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2534 (คณะกรรมการสมัยที่ 15) |
ที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง ในประเทศไทย | |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร 3,647 ตารางกิโลเมตร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 2,780 ตารางกิโลเมตร
ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นแหล่งมรดกโลก
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้งได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2534 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 15 ที่เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนิเซีย โดยผ่าน(ข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา)ให้เป็นแหล่งมรดกโลก ดังนี้
- (vii) - เป็นแหล่งที่เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์หายากหรือสวยงามเป็นพิเศษ เช่น แม่น้ำ น้ำตก ภูเขา
- (ix) - เป็นตัวอย่างที่เด่นชัดในการเป็นตัวแทนของกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางธรณีวิทยาหรือวิวัฒนาการทางชีววิทยา และปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่กำลังเกิดอยู่ เช่น ภูเขาไฟ เกษตรกรรมขั้นบันได
- (x) - เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดสัตว์และพันธุ์พืชที่หายากหรือที่ตกอยู่ในสภาวะอันตราย แต่ยังคงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งรวมถึงระบบนิเวศอันเป็นแหล่งรวมความหนาแน่นของพืชและสัตว์ที่ทั่วโลกให้ความสนใจด้วย
โดยได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกพร้อมกันกับนครประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาและเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร และเป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติแห่งแรกของประเทศไทย
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries" (ภาษาอังกฤษ). UNESCO World Heritage Centre. สืบค้นเมื่อ 30 January 2017.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhtrksaphnthustwpathungihy hwykhaaekhng khuxaehlngmrdkolkthangthrrmchatikhxngpraethsithy prakxbdwyekhtrksaphnthustwpasxngekht idaek ekhtrksaphnthustwpathungihynerswraelaekhtrksaphnthustwpahwykhaaekhng tngxyuincnghwdxuthythani tak aelakaycnburi thangtawntkkhxngpraethsiklkbchayaednpraethsphma khrxbkhlumphunthi 622 200 ehktar epnphunthixnurksthiihythisudinkhabsmuthrxinodcin epnphunthipathisamarthekhathungidnxythisudaelaepnbriewnthirbkwnnxythisudkhxngpraeths odystweliynglukdwynmkhnadihyrxyla 77 odyechphaachangaelaesux nkkhnadihyrxyla 50 aelastwmikraduksnhlngbkrxyla 33 thiphbinphumiphakhsamarthphbidinaehlngmrdkolkaehngniekhtrksaphnthustwpathungihy hwykhaaekhng aehlngmrdkolkodyyuensokchangpainekhtrksaphnthustwpahwykhaaekhngphikd15 20 N 98 55 E 15 333 N 98 917 E 15 333 98 917praeths ithyphumiphakh exechiyaelaaepsifikpraephthmrdkthangthrrmchatieknthphicarna vii ix x xangxing591prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn2534 khnakrrmkarsmythi 15 thitngkhxngekhtrksaphnthustwpathungihy hwykhaaekhng inpraethsithy chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensokekhtrksaphnthustwpaekhtrksaphnthustwpathungihynerswr 3 647 tarangkiolemtr ekhtrksaphnthustwpahwykhaaekhng 2 780 tarangkiolemtrkhxkahndaelahlkeknthinkarphicarnaihepnaehlngmrdkolkekhtrksaphnthustwpathungihy hwykhaaekhngidkhunthaebiynepnaehlngmrdkolkemuxpi ph s 2534 inkarprachumkhnakrrmkarmrdkolksmysamykhrngthi 15 thiemuxngkharethc praethstuniesiy odyphankhxkahndaelahlkeknthinkarphicarnaihepnaehlngmrdkolk dngni vii epnaehlngthiekidcakpraktkarnthangthrrmchatithimiexklksnhayakhruxswyngamepnphiess echn aemna natk phuekha ix epntwxyangthiednchdinkarepntwaethnkhxngkrabwnkarepliynaeplngthisakhythangthrniwithyahruxwiwthnakarthangchiwwithya aelaptismphnthkhxngmnusytxsingaewdlxmthangthrrmchatithikalngekidxyu echn phuekhaif ekstrkrrmkhnbnid x epnthinthixyuxasykhxngchnidstwaelaphnthuphuchthihayakhruxthitkxyuinsphawaxntray aetyngkhngsamarthdarngchiwitxyuid sungrwmthungrabbniewsxnepnaehlngrwmkhwamhnaaennkhxngphuchaelastwthithwolkihkhwamsnicdwy odyidrbkarkhunthaebiynepnaehlngmrdkolkphrxmknkbnkhrprawtisastrphrankhrsrixyuthyaaelaemuxngprawtisastrsuokhthyaelaemuxngbriwar aelaepnaehlngmrdkolkthangthrrmchatiaehngaerkkhxngpraethsithyaehlngkhxmulxun Thungyai Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries phasaxngkvs UNESCO World Heritage Centre subkhnemux 30 January 2017