เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ตั้งอยู่ในท้องที่อำเภอโนนดินแดงและอำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ | |
---|---|
ไอยูซีเอ็นกลุ่ม 4 (เขตบริหารสิ่งแวดล้อม) | |
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ | |
ตำแหน่งที่ตั้งในประเทศไทย เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ (ประเทศไทย) | |
ที่ตั้ง | อำเภอโนนดินแดงและอำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ |
พิกัด | 14°14′25.5″N 102°37′13.6″E / 14.240417°N 102.620444°E |
พื้นที่ | 340 ตารางกิโลเมตร |
จัดตั้ง | 2539 |
หน่วยราชการ | กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |
กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ * | |
---|---|
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
(ประเทศ) | ไทย |
ภูมิภาค ** | เอเชียและแปซิฟิก |
ประเภท | มรดกทางธรรมชาติ |
(เกณฑ์พิจารณา) | (x) |
อ้างอิง | 590 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2548 (คณะกรรมการสมัยที่ 29) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
ประวัติ
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ เดิมมีเนื้อที่ 631,250 ไร่ เป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์แห่งสุดท้ายของจังหวัดบุรีรัมย์ และเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารที่สำคัญ ได้แก่ ห้วยลำนางรอง ห้วยลำปลายมาศ ซึ่งไหลหล่อเลี้ยงชีวิตชาวบุรีรัมย์และจังหวัดใกล้เคียงตลอดมา ถูกบุกรุกแผ้วถางยึดถือครองทำการเกษตรทำให้มีพื้นที่เหลือน้อยลงไปทุกที สำนักงานป่าไม้เขตนครราชสีมา ได้ส่งเจ้าหน้าที่ออกทำการสำรวจพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ เพื่อกั้นพื้นที่ให้เป็นป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม 2535 พบว่าสภาพป่าไม้มีความอุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างชุกชุมและได้เสนอรายงานให้กรมป่าไม้จัดตั้งเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ต่อมากรมป่าไม้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ที่ส่วนอนุรักษ์สัตว์ป่า ออกไปทำการสำรวจข้อมูลและควบคุมพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ เพื่อกำหนดให้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จังหวัดบุรีรัมย์
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ อยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ ท้องที่ตำบลนางรอง ตำบลโนนดินแดง กิ่งอำเภอโนนดินแดง ตำบลโคกมะม่วง ตำบลหูทำนบ อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ 212,500 ไร่ หรือประมาณ 340 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยมีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 348 ตัดผ่าน และรอบแนวเขต เป็นพื้นที่จัดสรรให้ราษฎรทำกินและอยู่อาศัยมีการตัดเส้นทางเข้าไปจนชิดแนวป่า ซึ่งง่ายต่อการบุกรุกถือครองพื้นที่ป่าไม้ ต่อมาทางราชการได้ดำเนินการอพยพย้ายราษฎรออกจากพื้นที่ป่า เพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัย หลบภัย ขยายพันธุ์ และประกอบกิจกรรมของสัตว์ป่าโดยปลอดภัย ช่วยรักษาพันธุ์ไม้ชนิดต่าง ๆ ไว้ และยังช่วยรักษาแหล่งต้นน้ำลำธารซึ่งไหลหล่อเลี้ยงชีวิตประชาชนชาวบุรีรัมย์ให้คงอยู่ตลอดไป
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ อุทยานแห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติปางสีดา อุทยานแห่งชาติตาพระยา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ได้รับการประกาศให้เป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติจากยูเนสโก ภายใต้ชื่อ "กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่"
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงใหญ่ แบ่งพื้นที่เป็น 2 โซน คือโซน ก และโซน ข
- โซน ก สภาพพื้นที่เป็นที่ราบสูง คือ มีภูเขาสูงทางด้านทิศตะวันตกและค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางทิศตะวันออก มีระดับความสูงของพื้นที่จากระดับน้ำทะเลเฉลี่ยประมาณ 250–658 เมตร มียอดเขาทีสูงที่สุด ประมาณ 685 เมตร
- โซน ข สภาพพื้นที่เป็นภูเขาสูง ตรงกลางพื้นที่ล้อมรอบด้วยป่าพื้นราบ มีระดับความสูงของพื้นที่จากระดับน้ำทะเลเฉลี่ยประมาณ 230–483 เมตร มียอดเขาสูงสุด คือ เขาเนินหิน มีความสูงประมาณ 483 เมตร
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ แบ่งออกเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน, ฤดูหนาว, ฤดูฝน
- ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์–พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 24 องศาเซลเซียส
- ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายน–มกราคม
- ฤดูฝน ระหว่างเดือนมิถุนายน–ตุลาคม
ความอุดมสมบูรณ์
ชนิดป่าและพันธุ์ไม้
สภาพพื้นที่ป่าส่วนใหญ่เป็นป่าดิบแล้ง มีไม้มีค่าทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก เช่น ไม้มะค่าโมง, ไม้มะค่าแต้, ไม้ประดู่, ตะเคียนหิน, ยางนา, ชิงชัน, ตะเคียนทอง, พยุง, เคี่ยมคะนอง ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีไม้พื้นล่างและกล้วยไม้ชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น เฟิร์นชนิดต่าง ๆ
สัตว์ป่า
เนื่องจากพื้นที่นี้มีสภาพเป็นป่าดงดิบที่อุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่กว้างขวาง แต่ในปัจจุบันพื้นที่ป่าถูกทำลายลงไปมากและสัตว์ป่าก็ถูกล่าไปมิใช่น้อย จากการเข้าไปสำรวจของเจ้าหน้าที่และได้รับการบอกเล่าว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2535 ได้มีผู้พบเห็นกูปรีซึ่งเป็นสัตว์ป่าสงวนที่หายากมากชนิดหนึ่ง นอกจากนั้นยังพบเลียงผา ซึ่งก็เป็นสัตว์ป่าสงวนอีกชนิดหนึ่ง และยังมีสัตว์ป่าอีกหลายชนิดเป็นจำนวนมาก เช่น ตะกวด, ตะพาบน้ำ, นิ่ม, งูชนิดต่าง ๆ และนกชนิดต่าง ๆ ได้แก่ นกขุนทอง, นกเงือก, นกหัวขวาน, นกปรอด, เหยี่ยวรุ้ง, นกเป็ดแดง ซึ่งจากการสำรวจในปัจจับันพบแล้ว ประมาณ 130 ชนิด
จุดเด่นที่น่าสนใจ
โป่งอีหล้า แหล่งน้ำ ได้แก่ บริเวณซับน้ำล้อม, ร้อยรู จุดชมวิวไก้ฟ้าผาแดง
สิ่งอำนวยความสะดวก
เนื่องจากหน่วยงานของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ เป็นหน่วยงานใหม่อยู่ระหว่างการควบคุมพื้นที่ยังไม่ได้ประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าที่สมบูรณ์ จึงไม่มีงบประมาณที่จะสร้างบ้านพักรับรองและสถานที่ศึกษาวิจัยสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยส่วนรวมแล้วการศึกษาค้นคว้าวิจัยและทัศนะศึกษาทางธรรมชาติด้วยการเดินเท้าและพักโรงแรมด้วยการกางเต็นท์
การเดินทาง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ อยู่ห่างจากจังหวัดบุรีรัมย์ ประมาณ 100 กิโลเมตร สามารถเดินทางไปได้ 2 เส้นทาง ได้แก่
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 สายบุรีรัมย์–นางรอง ผ่านอำเภอปะคำ อำเภอโนนดินแดง
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 348 หรือใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 219 สายบุรีรัมย์–ประโคนชัย ผ่านอำเภอละหานทราย อำเภอโนนดินแดง ก็ได้เช่นกัน
อ้างอิง
- [1] - เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จังหวัดบุรีรัมย์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhtrksaphnthustwpadngihy tngxyuinthxngthixaephxonndinaedngaelaxaephxpakha cnghwdburirmyekhtrksaphnthustwpadngihyixyusiexnklum 4 ekhtbriharsingaewdlxm ekhtrksaphnthustwpadngihytaaehnngthitnginpraethsithyaesdngaephnthicnghwdburirmyekhtrksaphnthustwpadngihy praethsithy aesdngaephnthipraethsithythitngxaephxonndinaedngaelaxaephxpakha cnghwdburirmyphikd14 14 25 5 N 102 37 13 6 E 14 240417 N 102 620444 E 14 240417 102 620444phunthi340 tarangkiolemtrcdtng2539hnwyrachkarkrmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuchklumpadngphyaeyn ekhaihy aehlngmrdkolkodyyuensokpraeths ithyphumiphakh exechiyaelaaepsifikpraephthmrdkthangthrrmchatieknthphicarna x xangxing590prawtikarkhunthaebiynkhunthaebiyn2548 khnakrrmkarsmythi 29 chuxtamthiidkhunthaebiyninbychiaehlngmrdkolk phumiphakhthicdaebngodyyuensokprawtiphunthipasngwnaehngchatipadngihy edimmienuxthi 631 250 ir epnpathixudmsmburnaehngsudthaykhxngcnghwdburirmy aelaepnaehlngtnnalatharthisakhy idaek hwylanangrxng hwylaplaymas sungihlhlxeliyngchiwitchawburirmyaelacnghwdiklekhiyngtlxdma thukbukrukaephwthangyudthuxkhrxngthakarekstrthaihmiphunthiehluxnxylngipthukthi sanknganpaimekhtnkhrrachsima idsngecahnathixxkthakarsarwcphunthipasngwnaehngchatipadngihy ephuxknphunthiihepnpaxnurkstammtikhnarthmntriemuxwnthi 10 aela 17 minakhm 2535 phbwasphaphpaimmikhwamxudmsmburn mistwpaxasyxyuxyangchukchumaelaidesnxraynganihkrmpaimcdtngepnekhtrksaphnthustwpa txmakrmpaimidsngecahnathithiswnxnurksstwpa xxkipthakarsarwckhxmulaelakhwbkhumphunthipasngwnaehngchatipadngihy ephuxkahndihepnekhtrksaphnthustwpadngihy cnghwdburirmy phunthiekhtrksaphnthustwpadngihy xyuinphunthipasngwnaehngchatipadngihy thxngthitablnangrxng tablonndinaedng kingxaephxonndinaedng tablokhkmamwng tablhuthanb xaephxpakha cnghwdburirmy mienuxthi 212 500 ir hruxpraman 340 tarangkiolemtr phunthithukaebngxxkepn 2 swn odymithanghlwngaephndinhmayelkh 348 tdphan aelarxbaenwekht epnphunthicdsrrihrasdrthakinaelaxyuxasymikartdesnthangekhaipcnchidaenwpa sungngaytxkarbukrukthuxkhrxngphunthipaim txmathangrachkariddaeninkarxphyphyayrasdrxxkcakphunthipa ephuxihepnthixyuxasy hlbphy khyayphnthu aelaprakxbkickrrmkhxngstwpaodyplxdphy chwyrksaphnthuimchnidtang iw aelayngchwyrksaaehlngtnnalatharsungihlhlxeliyngchiwitprachachnchawburirmyihkhngxyutlxdip emuxwnthi 14 krkdakhm ph s 2548 xuthyanaehngchatiekhaihy xuthyanaehngchatithblan xuthyanaehngchatipangsida xuthyanaehngchatitaphraya aelaekhtrksaphnthustwpadngihyidrbkarprakasihepnaehlngmrdkolkthangthrrmchaticakyuensok phayitchux klumpadngphyaeyn ekhaihy lksnaphumipraethsphunthipasngwnaehngchatipadngihy aebngphunthiepn 2 osn khuxosn k aelaosn kh osn k sphaphphunthiepnthirabsung khux miphuekhasungthangdanthistawntkaelakhxy ladtaipthangthistawnxxk miradbkhwamsungkhxngphunthicakradbnathaelechliypraman 250 658 emtr miyxdekhathisungthisud praman 685 emtr osn kh sphaphphunthiepnphuekhasung trngklangphunthilxmrxbdwypaphunrab miradbkhwamsungkhxngphunthicakradbnathaelechliypraman 230 483 emtr miyxdekhasungsud khux ekhaeninhin mikhwamsungpraman 483 emtrlksnaphumixakassphaphphumixakas aebngxxkepn 3 vdu khux vdurxn vduhnaw vdufn vdurxn rahwangeduxnkumphaphnth phvsphakhm xunhphumiechliypraman 24 xngsaeslesiys vduhnaw rahwangeduxnphvscikayn mkrakhm vdufn rahwangeduxnmithunayn tulakhmkhwamxudmsmburnchnidpaaelaphnthuim sphaphphunthipaswnihyepnpadibaelng miimmikhathangesrsthkickhunxyuinphunthiepncanwnmak echn immakhaomng immakhaaet impradu taekhiynhin yangna chingchn taekhiynthxng phyung ekhiymkhanxng l nxkcakniyngmiimphunlangaelaklwyimchnidtang xikmakmay echn efirnchnidtang stwpa enuxngcakphunthinimisphaphepnpadngdibthixudmsmburn miphunthikwangkhwang aetinpccubnphunthipathukthalaylngipmakaelastwpakthuklaipmiichnxy cakkarekhaipsarwckhxngecahnathiaelaidrbkarbxkelawa emuxpraman ph s 2535 idmiphuphbehnkuprisungepnstwpasngwnthihayakmakchnidhnung nxkcaknnyngphbeliyngpha sungkepnstwpasngwnxikchnidhnung aelayngmistwpaxikhlaychnidepncanwnmak echn takwd taphabna nim nguchnidtang aelankchnidtang idaek nkkhunthxng nkenguxk nkhwkhwan nkprxd ehyiywrung nkepdaedng sungcakkarsarwcinpccbnphbaelw praman 130 chnid cudednthinasnic opngxihla aehlngna idaek briewnsbnalxm rxyru cudchmwiwikfaphaaedng singxanwykhwamsadwk enuxngcakhnwyngankhxngekhtrksaphnthustwpadngihy epnhnwynganihmxyurahwangkarkhwbkhumphunthiyngimidprakasepnekhtrksaphnthustwpathismburn cungimmingbpramanthicasrangbanphkrbrxngaelasthanthisuksawicysingaewdlxmthangthrrmchati odyswnrwmaelwkarsuksakhnkhwawicyaelathsnasuksathangthrrmchatidwykaredinethaaelaphkorngaermdwykarkangetnthkaredinthangekhtrksaphnthustwpadngihy xyuhangcakcnghwdburirmy praman 100 kiolemtr samarthedinthangipid 2 esnthang idaek thanghlwngaephndinhmayelkh 218 sayburirmy nangrxng phanxaephxpakha xaephxonndinaedng thanghlwngaephndinhmayelkh 348 hruxichesnthanghlwnghmayelkh 219 sayburirmy praokhnchy phanxaephxlahanthray xaephxonndinaedng kidechnknxangxing 1 ekhtrksaphnthustwpadngihy cnghwdburirmy