เกรย์ (อังกฤษ: gray, สัญลักษณ์: Gy) เป็นหน่วยอนุพันธ์เอสไอสำหรับใช้วัดปริมาณ (ionising radiation) และปริมาณการดูดซับพลังงานจากโฟตอนโดยอิเล็กตรอน หนึ่งเกรย์มีค่าเท่ากับปริมาณพลังงานหนึ่งจูลที่ถูกดูดซับในสสารมวลหนึ่งกิโลกรัม ตั้งชื่อตาม นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ และเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2518
เกรย์ | |
---|---|
ระบบการวัด | หน่วยอนุพัทธ์เอสไอ |
เป็นหน่วยของ | ปริมาณการแผ่รังสีไอออไนซ์ |
สัญลักษณ์ | Gy |
ตั้งชื่อตาม | |
การแปลงหน่วย | |
1 Gy ใน ... | ... มีค่าเท่ากับ ... |
หน่วยฐานเอสไอ | m2⋅s−2 |
มาตราซีจีเอส | 100 rad |
ในระบบซีจีเอส ปริมาณการดูดซับพลังงานวัดในหน่วย (rad) โดยที่ 1 rad มีค่าเท่ากับ 0.01 Gy หน่วยแร็ดนิยมใช้มากในสหรัฐอเมริกาแม้ว่า (NIST) จะขอร้องให้เลิกใช้เด็ดขาดก็ตาม
นิยาม
การดูดซับพลังงานจากกัมมันตภาพ หนึ่งเกรย์ มีค่าเท่ากับพลังงานหนึ่งจูล ที่ถูกดูดซับไว้ในสสารมวลหนึ่งกิโลกรัม เขียนเป็นหน่วยฐานได้ดังนี้
คณะกรรมการระหว่างชาติว่าด้วยการชั่งตวงวัด ระบุไว้ว่า เพื่อให้การจำแนกระหว่างปริมาณรังสีดูดซับ D และปริมาณรังสีสมมูล H เป็นไปได้สะดวกปราศจากความสับสนนั้น สมควรให้มีชื่อหน่วยที่เหมาะสม คือ เกรย์ แทนปริมาณพลังงานที่ถูกดูดซับจริง และซีเวอร์ต แทนพลังงานที่ถูกดูดซับเทียบเท่า ทั้งสองหน่วยเขียนได้เป็นจูลต่อกิโลกรัม
ปริมาณอันเกี่ยวเนื่องกับการแผ่รังสี
ตารางต่อไปนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการแผ่รังสี ทั้งที่เป็นหน่วยเอสไอและไม่เป็น
อ้างอิง
- "The International System of Units (SI)" (PDF). Bureau International des Poids et Mesures (BIPM). สืบค้นเมื่อ 2010-01-31.
- "Rays instead of scalpels". LH Gray Memorial Trust. 2002. สืบค้นเมื่อ 2012-05-15.
- "NIST Guide to SI Units – Units temporarily accepted for use with the SI". National Institute of Standards and Technology.
- "CIPM, 2002: Recommendation 2". BIPM.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekry xngkvs gray sylksn Gy epnhnwyxnuphnthexsixsahrbichwdpriman ionising radiation aelaprimankardudsbphlngngancakoftxnodyxielktrxn hnungekrymikhaethakbprimanphlngnganhnungculthithukdudsbinssarmwlhnungkiolkrm tngchuxtam nkfisikschawxngkvs aelaerimichemux ph s 2518ekryrabbkarwdhnwyxnuphththexsixepnhnwykhxngprimankaraephrngsiixxxinssylksnGy tngchuxtamkaraeplnghnwy1 Gy in mikhaethakb hnwythanexsix m2 s 2 matrasiciexs 100 rad inrabbsiciexs primankardudsbphlngnganwdinhnwy rad odythi 1 rad mikhaethakb 0 01 Gy hnwyaerdniymichmakinshrthxemrikaaemwa NIST cakhxrxngihelikicheddkhadktamniyamkardudsbphlngngancakkmmntphaph hnungekry mikhaethakbphlngnganhnungcul thithukdudsbiwinssarmwlhnungkiolkrm ekhiynepnhnwythaniddngni 1 Gy 1 Jkg 1 m2s2 displaystyle 1 mathrm Gy 1 frac mathrm J mathrm kg 1 frac mathrm m 2 mathrm s 2 khnakrrmkarrahwangchatiwadwykarchngtwngwd rabuiwwa ephuxihkarcaaenkrahwangprimanrngsidudsb D aelaprimanrngsismmul H epnipidsadwkprascakkhwamsbsnnn smkhwrihmichuxhnwythiehmaasm khux ekry aethnprimanphlngnganthithukdudsbcring aelasiewxrt aethnphlngnganthithukdudsbethiybetha thngsxnghnwyekhiynidepncultxkiolkrmprimanxnekiywenuxngkbkaraephrngsiGraphic showing relationships between radioactivity and detected ionizing radiation tarangtxipniaesdngkhwamsmphnthrahwangprimantang thiekiywkbkaraephrngsi thngthiepnhnwyexsixaelaimepnxangxing The International System of Units SI PDF Bureau International des Poids et Mesures BIPM subkhnemux 2010 01 31 Rays instead of scalpels LH Gray Memorial Trust 2002 subkhnemux 2012 05 15 NIST Guide to SI Units Units temporarily accepted for use with the SI National Institute of Standards and Technology CIPM 2002 Recommendation 2 BIPM duephim