อินทผลัม | |
---|---|
ต้นอินทผลัม | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไฟลัม: | Streptophyta |
ชั้น: | Equisetopsida |
ชั้นย่อย: | Magnoliidae |
อันดับ: | Arecales |
วงศ์: | Arecaceae |
สกุล: | Phoenix |
สปีชีส์: | P. dactylifera |
อินทผลัม [อิน-ทะ-ผะ-ลำ] เป็นพืชตระกูลปาล์ม ในวงศ์ Arecaceae ชื่อสามัญ Date palm, Dates มีหลายสายพันธุ์ เติบโตได้ดีในเขตที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้งอย่างทะเลทราย ทว่า คนไทยมักเรียก อินทผาลัม เป็นพืชเก่าแก่ของตะวันออกกลาง อ้างอิงจากประวัติศาสตร์ว่าพบแถบเมโสโปเตเมีย หลังมนุษย์ได้อพยพไปตั้งรกรากที่นั่นและมีพืชอย่างอินทผลัมซึ่งทนต่อสภาพแห้งแล้งแบบทะเลทราย โดยใช้ลำต้นสร้างบ้านเป็นที่อยู่อาศัย ขณะที่ผลเป็นอาหารทั้งของคนและอูฐ ปัจจุบันไม้ผลชนิดนี้ มีสรรพคุณทางยาและมีประโยชน์มหาศาล
ลักษณะทางกายภาพ
อินทผลัมเป็นพืชตระกูลปาล์ม มีชื่อเรียกท้องถิ่นแตกต่างกันไป อาหรับ เรียก ตัมร มลายู เรียก กุรหม่า มีหลายสายพันธุ์ มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกกลาง สามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้งแบบทะเลทราย ลำต้นมีความสูงประมาณ 30 เมตร มีขนาดลำต้นประมาณ 30–50 เซนติเมตร มีใบติดอยู่บนต้นประมาณ 40–60 ก้าน ทางใบยาว 3–4 เมตร ใบเป็นแบบขนนก ใบย่อยพุ่งออกหลายทิศทาง ช่อดอกจะออกจากโคนใบ ผลทรงกลมรี ออกเป็นช่อ ความยาวผล 2-4 เซนติเมตร มีรสหวานฉ่ำ รับประทานได้ทั้งผลดิบและผลสุก โดยผลสดจะมีสีเหลืองไปจนถึงสีส้ม เมื่อแก่จัดจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลถึงน้ำตาลเข้ม (ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์) ทั้งนี้ พัฒนาการของผล แบ่งเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะผลดิบ ระยะสมบูรณ์ ระยะสุกแก่ ระยะผลแห้ง โดยผลสุกสามารถนำไปตากแห้งเก็บไว้รับประทานได้หลายปี และจะมีรสชาติหวานจัดเหมือนกับนำไปเชื่อมด้วยน้ำตาล
ต้นกำเนิดและการกระจายพันธุ์
อินทผลัมเป็นพืชพื้นเมืองของคาบสมุทรอาหรับไปจนถึงปากีสถานตอนใต้ เช่นในมลรัฐรอบอ่าวเม็กซิโก อิหร่าน อิรัก โอมาน ปากีสถาน ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย การปลูกอินทผลัมได้มีการเพาะปลูกมาหลายพันปี โดยจะเติบโตได้ในภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นกึ่งเขตร้อน (subtropical biome) มีการใช้ประโยชน์ในด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม เช่น อาหารสัตว์ ยารักษาโรค เชื้อเพลิง และอาหาร มนุษย์ได้ทำการกระจายพันธุ์ไปปลูกตามที่ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่นใน อัฟกานิสถาน แคลิฟอร์เนีย จีน อียิปต์ เวียดนาม สเปน และอื่นๆ เพื่อประโยชน์ทางการค้า
ส่วนต่าง ๆ และคุณสมบัติ
ส่วนของพืช | การใช้ประโยชน์ |
---|---|
เมล็ด | ใช้ทำเป็นอาหารสำหรับสัตว์ หรือลูกปัดในเครื่องประดับ นำมาสกัดน้ำมันและทำเป็นสบู่ได้ |
ผลไม้ | มีฤทธิ์ทางยา ใช้ในการรักษาอาการเจ็บคอ หวัด หรือโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร เช่นกระเพาะอาหาร หรือลำไส้ |
ลำต้น | นำไม้มาเป็นเชื้อเพลิงได้ |
เส้นใยจากลำต้น | นำมาผลิตเป็นเชือกได้ หรือนำมาทำเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ได้ เช่น ตะกร้า อานอูฐ กระเป๋า กระดาษ หรือเฟอร์นิเจอร์ |
ใบไม้ | สามารถนำใบแห้งมามุงหลังตา หรือทำเป็นผนังกั้น สำหรับการบังแดด |
แผ่นใบ และก้านช่อดอก | ใช้เป็นเชื้อเพลิง |
ไส้ไม้ (Palm Pith) | ทำเป็นแป้งอินผลัมได้ |
ต้นอินผลัม | ใช้ในการตกแต่งพื้นที่ ทำให้บริเวณนั้นแปรสภาพเป็นทะเลทราย |
สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ (Bioactive Compounds) โดยการใช้ประโยชน์ส่วนมากจะเป็นส่วนของผลและเมล็ด เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการที่สูง และมีคุณสมบัติทางยา นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติในการออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนายารักษาโรคและใช้ในผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเครื่องสำอางได้อีกด้วย โดยที่ผลจะมีส่วนประกอบทางเคมีดังนี้ Phenolic acids, Flavonoids (Quercetin, apigenin, rutin), Carotenoids (Beta-carotene, lycopene), Anthocyanins, Fatty acid (myristic, stearic, linolenic acids) และ Non-starch polysaccharides ส่วนในเมล็ดของอินทผลัมจะมีส่วนประกอบทางเคมีที่แตกต่างจากในผลเล็กน้อยคือมี Flavonoids ที่มีความหลายหลายมากกว่า เช่น Epicatechin, catechin, procyanidlins, naringenin, luteolin, chrysoeriol และ tricin ใน Carotenoids จะมี Beta-carotene และ luten มี Tocopherols ใน Fatty acid ประกอบด้วย oleic acid, palmitic acid และ lauric acid และยังมี Carboxylic acid ซึ่งแตกต่างจากในผล แต่ในเมล็ดจะไม่มีส่วนของ Non-starch polysaccharides
การใช้ประโยชน์และการผลิตอินทผลัมในประวัติศาสตร์โลก
แม้ว่าถิ่นกำเนิดที่แท้จริงของอินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) จะสูญหายไปตามกาลเวลา แต่ก็สามารถยืนยันได้ว่ามีการเพาะปลูกอินทผลัมมาตั้งแต่ 4,000 ปี ก่อนคริสต์ศักราช โดยพบหลักฐานการนำอินทผลัมไปใช้ในการก่อสร้างวิหารเทพเจ้าจันทร์ใกล้กับเมืองอูร์ในอิรักใต้(Popenoe, 1913; 1973)
ข้อมูลข้างต้นได้รับการยืนยันจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี เช่น ซากปรักหักพังของชาวสุเมเรียน อคาเดียน และบาบิโลน แสดงให้เห็นถึงการใช้ต้นปาล์มและใบปาล์มมุงหลังคา นอกจากนี้ ยังมีการพบบันทึกที่มีการใช้อินทผลัมเพื่อวัตถุประสงค์ทางการแพทย์ นอกเหนือจากคุณค่าทางอาหาร นอกจากนี้ยังพบว่าอินทผลัมมีความเกี่ยวข้องกับศาสนาต่าง ๆ เช่น ศาสนายิว ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากศาสดาอับราฮัม ซึ่งเกิดและเติบโตในเมืองอูร์อันเก่าแก่ซึ่งเป็นที่ปลูกอินทผาลัม
โดยในชาวยิวถือว่าวันที่นี้เป็นหนึ่งในผลไม้ศักดิ์สิทธิ์ทั้งเจ็ดและใช้ในการเฉลิมฉลอง และในศาสสนาอิสลามมีการพูดถึงอินทผลัมมาที่สุด โดยในอัลกุรอานได้มีการกล่าวว่าศาสดามูฮัมหมัดกล่าวว่าทรัพย์สินที่ดีที่สุดคืออินทผาลัม ซึ่งอินทผลัมสามารถรักษาอาการผิดปกติได้หลายอย่าง และเขาได้เรียกร้องให้ชาวมุสลิมกินอินทผลัมและดูแลอินทผาลัม
ตามการบันทึกข้อมูลขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) กล่าวว่าอินผลัมถือว่าเป็นพืชอุตสหกรรมการเกษตรที่มีผลผลิตราว 5.4 ล้านเมตริกตัน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากพื้นที่การเกษตรแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือซึ่งมีสภาพแวดล้อมแห้งแล้ง เป็นพืชที่ให้ผลไม้ในราคาสูง และกล่าวได้ว่าเป็นพืชที่มีความสำคัญในพื้นที่ทะเลทราย
การผลิตอินทผลัมมีการขยายตัวขึ้นในทุกปี ซึ่งผู้ที่ผลิตอินทผลัมรายใหญ่ของโลกจะอยู่ในบริเวณตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ การกระจายพันธุ์ของอินทผลัมจะแยกตามประเทศ สำหรับประเทศผู้ที่ผลิตอินทผลัมเป็นหลัก โดยเฉลี่ยในช่วงปี พ.ศ. 2542-2544 อิหร่าน ซาอุดีอาระเบีย และอิรัก มีพื้นที่เก็บเกี่ยวเกือบครึ่งหนึ่งของโลก ตัวเลขทางการค้าระบุว่าประมาณร้อยละ 93 ของอินทผลัมที่เก็บเกี่ยวนั้นถูกใช้ในท้องถิ่น และอินทผลัมเหล่านี้ส่วนใหญ่ไม่ใช่พันธุ์ส่งออกที่มีชื่อเสียง
ประวัติศาสตร์บ่งบอกว่าอินทผลัมเป็นพืชดั้งเดิมของโลกเก่า (หมายถึงยุโรป แอฟริกา และเอเชีย) เพิ่งยุคหลังๆ นี้เองที่อินทผลัมถูกนำมาปลูกเป็นสวนเพาะพันธุ์สมัยใหม่ในสหรัฐอเมริกา อิสราเอล และประเทศแถบซีกโลกใต้
ในปี พ.ศ. 2544 ประเทศผู้ผลิตอินทผลัมห้าอันดับแรก ได้แก่ อียิปต์ อิหร่าน ซาอุดีอาระเบีย ปากีสถาน และอิรัก คิดเป็นประมาณร้อยละ 69 ของการผลิตทั้งหมด หากรวมห้าประเทศที่สำคัญที่สุดในลำดับถัดไป เช่น แอลจีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซูดาน โอมาน และโมร็อกโก เปอร์เซ็นต์นี้จะเพิ่มขึ้นเป็น 90 เปอร์เซ็นต์ สิ่งนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการผลิตอินทผาลัมส่วนใหญ่ของโลกกระจุกตัวอยู่ในไม่กี่ประเทศ ซึ่งอยู่ในภูมิภาคเดียวกัน
ประเทศผู้ผลิตอินทผลัมรายใหญ่ในปัจจุบัน และประโยชน์ของอินทผลัม
ประเทศผู้ที่มีการมูลค่าผลิตทางการเกษตรที่มาหที่สุดในปี พ.ศ. 2566 คือ ประเทศซาอุดิอาราเบีย ซึ่งมีมูลค่า6,099,301 พันเหรียญสหรัฐ รองลงมาเป็น อิหร่าน อิรัก ตูนีเซีย และปากีสถานตาลัมดับ ดังแสดงตามตารางด้านล่างดังนี้
ประเทศ | มูลค่าผลผลิตทางการเกษตร (พันเหรียญสหรัฐ) |
---|---|
ซาอุดิอาราเบีย | 6099301 |
อิหร่าน | 5209784 |
อิรัก | 617125 |
ตูนีเซีย | 451322 |
ปากีสถาน | 410953 |
ที่มา : FAOSTAT |
นอกจากประโยชน์ที่กล่าวมาในหัวข้อก่อน ๆ ในปัจจุบันมีการวิจัยว่าสารในอินทผลัมมีประโยชน์ในหลากหลายด้าน โดยมีความมุ่งหวังไปในด้านที่เกี่ยวข้องกับเครื่องสำอาง โดยมีรายงานว่าสารในอินทผลัมมีส่วนช่วย ดังนี้
- ป้องกัน UV
- ลดโรคทางผิวหนัง
- ป้องกันการถูกทำลายของผิว และช่วยในการรักษาแผล
- ป้องกันการเกิดริ้วรอย
- เป็นสารที่ช่วยในการชะลอวัย
- รักษาโรคผิวหนัง
- เป็นสาร Antioxidant และ Anti-inflammatory
- เป็นสารที่สามารถช่วยในการทำความสะอาดได้
- เพิ่มการงอกของผม และป้องกันการผมร่วง
- ช่วยในการป้องกันการถูกทำลายของฟันและเล็บ
วิธีการเก็บเกี่ยว และการสกัด
การเก็บเกี่ยวอินทผลัมในปัจจุบันต้องคำนึงถึงสายพันธุ์ และจุดประสงค์ในการบริโภค ความสุกของอินทผลัมจะถูกพิจารณาโดยดูจาก ผลย่อย ช่อผล และลำต้น ซึ่งต้องอาศัยการสังเกตด้วยตา เช่น สีของผล ความสุก นอกจากนี้ยังสามารถพิจารณาโดยใช้ทางด้านเคมีเข้ามาช่วย เช่น ปริมาณน้้ำ น้ำตาล และเอนไซม์ภายในผล อินทผลัมสามารถแยกเก็บได้เป็น 3 ช่วงการเจริญเติบโต ซึ่งการเก็บในแต่ละช่วง อาศัยการคำนึงทางด้าน สายพันธุ์ สภาพอากาศและความต้องการของตลาดเข้าร่วมด้วย
ซึ่ง 3 ช่วงการเจริญเติบโตจะถูกแยกดังนี้
- Khalal: จะมีการเจริญเติบโตอย่างเต็มที่ แข็งและกรอบ มีความชื้น 50-85% มีสีเหลืองสดหรือสีแดง เน่าเสียได้ง่าย
- Rutab: มีสีน้ำตาลบางส่วน มีความชื้น 30-45% มีเส้นใยที่นิ่ม เน่าเสียได้ง่าย
- Tamar: จะมีสีน้ำตาลเข้ม มีความชื้น 10-25% เนื้อสัมผัสมีตั้งแต่อ่อน ยืดหยุ่น ไปจนถึงแข็ง ป้องกันแมลงได้ และสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานโดยไม่มีข้อควรระวังเป็นพิเศษ
โดยทั่วไปเมื่ออินทผลัมถึงระยะ Khalal ก็ถือว่าพร้อมสำหรับการซื้อขายเป็นผลไม้ "สด" ซึ่งจะต้องเป็นสายพันธุ์ที่มีแทนนินต่ำ เนื่องจากรสชาติที่ได้จะหวานไม่ฝาด ในระยะต่อมาคือ Rutab เนื่องจากมีการเน่าเสียได้ง่าย จึงจัดได้ว่าเป็นระยะที่ให้ราคาสูง เนื่องด้สยระบบการขนส่งที่ยากลำบาก และในระยะ Tamar ถือว่าเป็นระยะที่ให้ผลผลิตที่ไม่เน่าเสีย เนื่องจากผ่านกระบวนการทำให้แห้ง จึงกล่าวได้ว่าระยะนี้เป็นระยะที่เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการตลาดในรูปแบบอินทผาลัม "แห้ง" ซึ่งเหมาะในการเก็บรักษาและนำไปบริโภคได้ทั้งปี
การเก็บเกี่ยวผลสด
ในสมัยก่อนจะใช้คนในการเก็บเกี่ยว ดังนั้นเมื่อต้นยิ่งสูง การเก็บเกี่ยวจะยิ่งยาก ต้นทุนในการเก็บเกี่ยวจึงสูงขึ้นไปด้วย อาจมีการใช้บันไดเพื่อช่วยในการปีนขึ้นไปเก็บ หรือใช้ลิฟต์ในการยกคนขึ้นไปเก็บ ซึ่งการเก็บอินทผลัมต้องใช้แรงงานที่มีทักษะในการเก็บ ซึ่งการใช้แรงงานคนต้องใช้เวลาในการเก็บสูง และต้องเสียต้นทุนส่วนใหญ่ไปกับการจ้างคนมาเก็บผลผลิต ดังนั้นจึงมีการพัฒนาเครื่องมือในการช่วยในการเก็บ เพื่อการลดต้นทุนทางด้านการเก็บเกี่ยว โดยมีการพยายามพัฒนาหุ่นยนต์ที่จะสามาารถพิจารณาความพร้อมในการเก็บเกี่ยวของผล และช่วยในการเก็บเกี่ยวผลผลิต
การสกัดน้ำยางในต้น
โดยวิธีที่จะนำเสนอคือวิธีการแบบท้องถิ่น โดยที่จะมีการเอาใบออก และทำความสะอาดผิวหน้าที่จะทำการกรีด แล้วทำการปิดส่วยที่ทำการเฉือนออก ทำการใส่ท่อเข้าไปในลำต้น และทำการแขวนหม้อที่เอาไว้เก็บเกี่ยวเพื่อรองรับของเหลวที่จะออกมา ทำการเก็บ 2 ครั้ง/วัน โดยเปลี่ยนหม้อทุกๆครั้ง และมีการกรีดเพิ่มเล็กน้อย โดยน้ำที่ได้จะนำไปผ่านกระบวนการต่อ โดยการเติม phosphoric acid ลงไป และทำการกรอง
การสกัดน้ำมันอินทผลัม
ทำการเก็บเกี่ยวช่อผลของอินทผลัม และนำไปส่งโรงหมักภายใน 24 ชั่วโมงหลังจากการเก็บเกี่ยว เพื่อป้องกันไม่ให้สารที่ไม่ต้องการเพิ่มจำนวน เช่นกรดไขมันอิสระ๖FFA) นำไปสกัดด้วยวิธีการทำเข้าเครื่องอัดบีบ โดยก่อนอื่นต้องทำการฆ่าเชื้อช่อผลด้วยไอน้ำที่อุณหภูมิ 140 องศาสเซลเซียส เป็นเวลา 75-90นาที นอกจากจะทำให้สะอาดแล้ว ยังเป็นการช่วยกระตุ้นการทำงานของเอ็นไซม์ที่จะช่วยสรา้งน้ำมันอีกด้วย หลังจากนั้นจึงนำไปแยกผล และทำการปอกเปลือก และนำเข้าเครื่องบีบอีดต่อไป
น้ำมันดิบที่ได้จะถูกเก็บรักษาโดยการทำให้แห้ง และของเสียที่ได้จากกระบวนการนี้ ได้แก่ ทะลายปาล์ม และเส้นใย
คุณภาพน้ำมันปาล์มดิบที่มีคุณภาพดีที่สุดจะต้องมีเปอร์เซ็นต์ FFA น้อยกว่า 5% โดยมีความชื้นน้อยกว่า 0.1% และเปอร์เซ็นต์ของสิ่งสกปรกไม่เกิน 0.01%
รูปภาพของอินทผลัม
Photo of the plant and leaves, flowers, fruit and/or seeds
การขยายพันธุ์
การขยายพันธุ์อินทผลัมสามารถทำได้ 3 วิธี คือ
- จากการเพาะเม็ด
- จากการแยกหน่อจากต้นแม่
- จากเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเม็ด
การขยายพันธุ์จากการเพาะเม็ด ปัจจุปันไม่เป็นที่นิยมใช้กันในเชิงพานิชย์เชิงฟาร์มเกษตรขนาดใหญ่เพื่อผลิตผลที่มีคุณภาพ นิยมใช้วิธีนี้สำหรับขุดล้อมต้นขายเป็นปาล์มประดับมากกว่า
ข้อดี
- ขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ต้นทุนต่ำ เจริญเติบโตได้ดี
ข้อเสีย
- ไม่รู้เพศ ว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย อินทผลัมเป็นพืชที่ไม่สมบูรณ์เพศ การขยายพันธุ์จากการเพาะเม็ดจึงไม่สามารถ บอกได้ว่าต้นไหนเพศผู้ ต้นไหนเพศเมีย และโดยปกติอัตราส่วนต้นเพศผู้ต่อเพศเมีย อยู่ที่ประมาณ 50:50 จึงอาจจะทำให้ได้ต้นตัวผู้ที่มีมากเกินจำเป็นในสวน ต้นตัวผู้ที่เหมาะสมเพียงพอในสวนควรมีประมาณ 25% ก็เพียงพอ
- ต้นที่เกิดขึ้นมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันไป บางต้นอาจจะโตช้า โตเร็ว ผลโต ลักษณะทางกายภาพ จะแตกต่างกันไปบ้าง เช่น ขนาดผล สีสัน รสชาติ ฝาดมาก หวานมาก หวานน้อย จะไม่เหมือนกันทั้งหมด ควบคุมการให้ผลผลิตได้ยาก แต่ละต้นจึง ต้องตั้งชื่อเฉพาะของต้นนั้นๆ ซ้ำกันไม่ได้
ดังนั้นการปลูกด้วยวิธีนี้ จึงเหมาะกับการปลูกที่ลดต้นทุน และพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ๆขึ้นมา ใช้เวลาในการปลูกกว่าจะให้ผลผลิต ประมาณ 3 ขึ้นไป
การขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อ
การขยายพันธุ์จากการแยกหน่อปลูก เป็นการขยายพันธุ์ที่นิยมใช้กันมาช้านาน จนถึงปัจจุบัน ทั้งการขยายแปลงปลูก การค้าต้นพันธุ์ อินทผลัมเมื่อต้นอายุ 2 ปีขึ้นไปจะเริ่มสร้างหน่อ แขนงขึ้นมา รอบๆต้น มี 2 ประเภท คือหน่อดิน และ หน่ออากาศ ทั้งสองประเภทสามารถแยกขยายไปปลูกต่อได้ คล้ายๆแยกหน่อกล้วย
ข้อดี
- หน่อที่แยกออกมาจะมีพันธุกรรมเหมือนต้นแม่ทุกประการ ทั้งทางกายภาพ และ พันธุกรรม (เหมือนต้นแม่ทุกประการ )
- รู้เพศชัดเจน หน่อที่แยกมาจากต้นแม่ที่เป็นเพศอะไร หน่อก็จะเป็นเพศนั้น
- ผลผลิตที่ได้จะเหมือนกันทุกต้น ชื้อพันธุ์สามารถใช้ชื่อเดียวกันได้ ควบคุมคุณภาพได้ง่าย
- ให้ผลผลิตได้เร็ว เพราะหน่อที่แยกมาเป็นต้นที่โต พอสมควร เมื่อฟื้นตัวสมบูรณ์ จะสามารถให้ผลผลิตได้เลย
ข้อเสีย
- ราคาหน่อจะสูง ต้นทุนในการปลูกจะสูงตามไปด้วย เพราะหน่อที่ออกมามีจำนวนจำกัด ไม่พอเพียงกับความต้องการ
- ต้องดูแลเอาใจใส่ในระยะแยกที่เพิ่งแยกหน่อมาปลูก เพราะจะเกิดเป็นเชื้อรา รากเน่าโคนเน่าได้ง่าย
การขยายพันธุ์ด้วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
การขยายพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยใช้หน่อจากต้นแม่พันธ์ พันธุ์แท้(พันธุ์ที่เป็นที่ยอมรับเป็นสากล) มาทำการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นต้นกล้าคุณภาพขึ้นมาที่เป็นทางเลือกที่แก้ปัญหาจาก การเพาะเม็ด และ การแยกหน่อ เหมาะกับการขยายพันธุ์ เชิงคุณภาพได้อย่างดียิ่ง
ข้อดี
- ได้ต้นที่เกิดขึ้น พันธุกรรมจะเหมือนต้นแม่พันธุ์ทุกประการ (เหมือนการแยกหน่อ)
- รู้เพศชัดเจน เป็นต้นเพศเมีย 100% ไม่มีการกลายพันธุ์
- สายพันธุ์ที่ได้เป็นสายพันธุ์มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับในระดับสากลอยู่แล้ว
- ผลผลิตที่ได้จะเหมือนกันทุกต้น ชื้อพันธุ์สามารถใช้ชื่อเดียวกันได้ ควบคุมคุณภาพได้ง่าย
ข้อเสีย
- ราคายังคงสูงอยู่ในปัจจุบัน สามารถขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้แล้วโดยโครงงานของนิสิตปริญญาเอกที่คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นแห่งแรกในประเทศไทย แต่ยังมีจำนวนไม่มาก และต้นกล้ายังไม่สูง จึงไม่สามารถทำในเชิงพาณิชย์ได้
ประโยชน์ของอินทผลัม
สามารถแบ่งได้ 2 ด้านใหญ่คือ
- ด้านคุณค่าทางโภชนาการ สารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายของอินทผลัม เช่น แคลเซียม ซัลเฟอร์ เหล็ก โพแทสเซียม ฟอสฟอรัส แมงกานีส แมกนีเซียม และน้ำมันโวลาไตล์ ทั้งยังอุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร ซึ่งช่วยลดอาการท้องผูก รวมถึงให้พลังงานสูง บำรุงร่างกายที่อ่อนล้าให้กลับมีกำลัง นอกจากนี้ยังสามารถบำรุงกล้ามเนื้อมดลูกและสร้างน้ำนมแม่ด้วย
- ด้านการรักษาโรค อินทผลัมช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงสายตา ลดความหิว แก้กระหาย แก้โรควิงเวียนศีรษะ ช่วยลดเสมหะในลำคอ ทำให้กระดูกแข็งแรง นอกจากนี้ยังฆ่าเชื้อโรค พยาธิและสารพิษที่ตกอยู่ในลำไส้และระบบทางเดินอาหาร มีฤทธิ์ในการกำจัดสารพิษและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคอันเป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็งในช่องท้อง
ในทางศาสนาอิสลาม
ในทางศาสนาอิสลาม นบีมุฮัมมัด ศาสดาได้สอนว่า ผู้ใดที่จะลดศีลอดให้รับประทานอาหารมื้อแรกด้วยอินทผลัมและน้ำบริสุทธิ์ เนื่องจากในอินทผลัมมีสารอาหารที่เป็นประโยชน์จำนวนมากต่อร่างกาย จึงเหมาะอย่างมากกับผู้ที่อดอาหารมาเป็นระยะเวลานาน
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้สะกดคำนี้ว่า อินทผลัม
- "Phoenix dactylifera L. | Plants of the World Online | Kew Science". Plants of the World Online (ภาษาอังกฤษ).
- "Properties of Date Palm (Phoenix dactylifera), and Its Applications: A Review" https://www.researchgate.net/publication/362788837_Properties_of_Date_Palm_Phoenix_dactylifera_and_Its_Applications_A_Review
- Alharbi, Khlood Lafi; Raman, Jegadeesh; Shin, Hyun-Jae (2021-09). "Date Fruit and Seed in Nutricosmetics". Cosmetics (ภาษาอังกฤษ). 8 (3): 59. doi:10.3390/cosmetics8030059. ISSN 2079-9284.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help)) - "Date Palm Cultivation". www.fao.org.
- "FAOSTAT". www.fao.org.
- "Date palm products. Chapter 5". www.fao.org.
- "A VISION SYSTEM FOR DATE HARVESTING ROBOT" https://www.researchgate.net/publication/352212974_A_VISION_SYSTEM_FOR_DATE_HARVESTING_ROBOT
- Mustapa, Ana Najwa. "Extraction of palm oil from palm mesocarp using sub-critical R134a".
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help))
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:7
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:3
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:0
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ:5
- Mohammed, Naba Jasim; Othman, Norinsan Kamil; Al-Gburi, Ahmed Jamal Abdullah; Yusop, Rahimi M. (2023-01). "Date Palm Seed Extract for Mild Steel Corrosion Prevention in HCl Medium". Separations (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 54. doi:10.3390/separations10010054. ISSN 2297-8739.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xinthphlmtnxinthphlmkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeiflm Streptophytachn Equisetopsidachnyxy Magnoliidaexndb Arecaleswngs Arecaceaeskul Phoenixspichis P dactylifera xinthphlm xin tha pha la epnphuchtrakulpalm inwngs Arecaceae chuxsamy Date palm Dates mihlaysayphnthu etibotiddiinekhtthimixakasrxnaelaaehngaelngxyangthaelthray thwa khnithymkeriyk xinthphalm epnphuchekaaekkhxngtawnxxkklang xangxingcakprawtisastrwaphbaethbemosopetemiy hlngmnusyidxphyphiptngrkrakthinnaelamiphuchxyangxinthphlmsungthntxsphaphaehngaelngaebbthaelthray odyichlatnsrangbanepnthixyuxasy khnathiphlepnxaharthngkhxngkhnaelaxuth pccubnimphlchnidni misrrphkhunthangyaaelamipraoychnmhasallksnathangkayphaphxinthphlmepnphuchtrakulpalm michuxeriykthxngthinaetktangknip xahrb eriyk tmr mlayu eriyk kurhma mihlaysayphnthu mithinkaenidinaethbtawnxxkklang samarthecriyetibotiddiinphumiphakhthimixakasrxnaelaaehngaelngaebbthaelthray latnmikhwamsungpraman 30 emtr mikhnadlatnpraman 30 50 esntiemtr miibtidxyubntnpraman 40 60 kan thangibyaw 3 4 emtr ibepnaebbkhnnk ibyxyphungxxkhlaythisthang chxdxkcaxxkcakokhnib phlthrngklmri xxkepnchx khwamyawphl 2 4 esntiemtr mirshwancha rbprathanidthngphldibaelaphlsuk odyphlsdcamisiehluxngipcnthungsism emuxaekcdcaepliynepnsinatalthungnatalekhm khunxyukbsayphnthu thngni phthnakarkhxngphl aebngepn 4 raya idaek rayaphldib rayasmburn rayasukaek rayaphlaehng odyphlsuksamarthnaiptakaehngekbiwrbprathanidhlaypi aelacamirschatihwancdehmuxnkbnaipechuxmdwynataltnkaenidaelakarkracayphnthuxinthphlmepnphuchphunemuxngkhxngkhabsmuthrxahrbipcnthungpakisthantxnit echninmlrthrxbxawemksiok xihran xirk oxman pakisthan rachxanackrsaxudixaraebiy karplukxinthphlmidmikarephaaplukmahlayphnpi odycaetibotidinphumixakasaebbxbxunchunkungekhtrxn subtropical biome mikarichpraoychnindansingaewdlxmaelasngkhm echn xaharstw yarksaorkh echuxephling aelaxahar mnusyidthakarkracayphnthuippluktamthitang tamkhwamehmaasm echnin xfkanisthan aekhlifxreniy cin xiyipt ewiydnam sepn aelaxun ephuxpraoychnthangkarkhaswntang aelakhunsmbtitarangaesdngkarichpraoychnkhxngswntangkhxngtnxinthphlm swnkhxngphuch karichpraoychnemld ichthaepnxaharsahrbstw hruxlukpdinekhruxngpradb namaskdnamnaelathaepnsbuidphlim mivththithangya ichinkarrksaxakarecbkhx hwd hruxorkhekiywkbrabbthangedinxahar echnkraephaaxahar hruxlaislatn naimmaepnechuxephlingidesniycaklatn namaphlitepnechuxkid hruxnamathaepnphlitphnthxun id echn takra xanxuth kraepa kradas hruxefxrniecxribim samarthnaibaehngmamunghlngta hruxthaepnphnngkn sahrbkarbngaeddaephnib aelakanchxdxk ichepnechuxephlingisim Palm Pith thaepnaepngxinphlmidtnxinphlm ichinkartkaetngphunthi thaihbriewnnnaeprsphaphepnthaelthray sarxxkvththithangchiwphaph Bioactive Compounds odykarichpraoychnswnmakcaepnswnkhxngphlaelaemld enuxngcakmikhunkhathangophchnakarthisung aelamikhunsmbtithangya nxkcakniyngmikhunsmbtiinkarxxkvththithangchiwphaph sungmiskyphaphinkarphthnayarksaorkhaelaichinphlitphnthekiywkbekhruxngsaxangidxikdwy odythiphlcamiswnprakxbthangekhmidngni Phenolic acids Flavonoids Quercetin apigenin rutin Carotenoids Beta carotene lycopene Anthocyanins Fatty acid myristic stearic linolenic acids aela Non starch polysaccharides swninemldkhxngxinthphlmcamiswnprakxbthangekhmithiaetktangcakinphlelknxykhuxmi Flavonoids thimikhwamhlayhlaymakkwa echn Epicatechin catechin procyanidlins naringenin luteolin chrysoeriol aela tricin in Carotenoids cami Beta carotene aela luten mi Tocopherols in Fatty acid prakxbdwy oleic acid palmitic acid aela lauric acid aelayngmi Carboxylic acid sungaetktangcakinphl aetinemldcaimmiswnkhxng Non starch polysaccharideskarichpraoychnaelakarphlitxinthphlminprawtisastrolkaemwathinkaenidthiaethcringkhxngxinthphlm Phoenix dactylifera L casuyhayiptamkalewla aetksamarthyunynidwamikarephaaplukxinthphlmmatngaet 4 000 pi kxnkhristskrach odyphbhlkthankarnaxinthphlmipichinkarkxsrangwiharethphecacnthriklkbemuxngxurinxirkit Popenoe 1913 1973 khxmulkhangtnidrbkaryunyncakhlkthanthangprawtisastraelaobrankhdi echn sakprkhkphngkhxngchawsuemeriyn xkhaediyn aelababioln aesdngihehnthungkarichtnpalmaelaibpalmmunghlngkha nxkcakni yngmikarphbbnthukthimikarichxinthphlmephuxwtthuprasngkhthangkaraephthy nxkehnuxcakkhunkhathangxahar nxkcakniyngphbwaxinthphlmmikhwamekiywkhxngkbsasnatang echn sasnayiw sasnakhrist aelasasnaxislam sungidrbxiththiphlmacaksasdaxbrahm sungekidaelaetibotinemuxngxurxnekaaeksungepnthiplukxinthphalm odyinchawyiwthuxwawnthiniepnhnunginphlimskdisiththithngecdaelaichinkarechlimchlxng aelainsassnaxislammikarphudthungxinthphlmmathisud odyinxlkurxanidmikarklawwasasdamuhmhmdklawwathrphysinthidithisudkhuxxinthphalm sungxinthphlmsamarthrksaxakarphidpktiidhlayxyang aelaekhaideriykrxngihchawmuslimkinxinthphlmaeladuaelxinthphalm tamkarbnthukkhxmulkhxngxngkhkarxaharaelaekstraehngshprachachati FAO klawwaxinphlmthuxwaepnphuchxutshkrrmkarekstrthimiphlphlitraw 5 4 lanemtriktn sungswnihymacakphunthikarekstraethbexechiytawntkechiyngitaelaaexfrikaehnuxsungmisphaphaewdlxmaehngaelng epnphuchthiihphliminrakhasung aelaklawidwaepnphuchthimikhwamsakhyinphunthithaelthray karphlitxinthphlmmikarkhyaytwkhuninthukpi sungphuthiphlitxinthphlmrayihykhxngolkcaxyuinbriewntawnxxkklangaelaaexfrikaehnux karkracayphnthukhxngxinthphlmcaaeyktampraeths sahrbpraethsphuthiphlitxinthphlmepnhlk odyechliyinchwngpi ph s 2542 2544 xihran saxudixaraebiy aelaxirk miphunthiekbekiywekuxbkhrunghnungkhxngolk twelkhthangkarkharabuwapramanrxyla 93 khxngxinthphlmthiekbekiywnnthukichinthxngthin aelaxinthphlmehlaniswnihyimichphnthusngxxkthimichuxesiyng prawtisastrbngbxkwaxinthphlmepnphuchdngedimkhxngolkeka hmaythungyuorp aexfrika aelaexechiy ephingyukhhlng niexngthixinthphlmthuknamaplukepnswnephaaphnthusmyihminshrthxemrika xisraexl aelapraethsaethbsikolkit inpi ph s 2544 praethsphuphlitxinthphlmhaxndbaerk idaek xiyipt xihran saxudixaraebiy pakisthan aelaxirk khidepnpramanrxyla 69 khxngkarphlitthnghmd hakrwmhapraethsthisakhythisudinladbthdip echn aexlcieriy shrthxahrbexmierts sudan oxman aelaomrxkok epxresntnicaephimkhunepn 90 epxresnt singniaesdngihehnxyangchdecnwakarphlitxinthphalmswnihykhxngolkkracuktwxyuinimkipraeths sungxyuinphumiphakhediywknpraethsphuphlitxinthphlmrayihyinpccubn aelapraoychnkhxngxinthphlmpraethsphuthimikarmulkhaphlitthangkarekstrthimahthisudinpi ph s 2566 khux praethssaxudixaraebiy sungmimulkha6 099 301 phnehriyyshrth rxnglngmaepn xihran xirk tuniesiy aelapakisthantalmdb dngaesdngtamtarangdanlangdngni tarangaesdng 5xndbpraethsthimimulkhaphlphlitthangkarekstrkhxngxinthphlmthimakthisudinpi ph s 2566 praeths mulkhaphlphlitthangkarekstr phnehriyyshrth saxudixaraebiy 6099301xihran 5209784xirk 617125tuniesiy 451322pakisthan 410953thima FAOSTAT nxkcakpraoychnthiklawmainhwkhxkxn inpccubnmikarwicywasarinxinthphlmmipraoychninhlakhlaydan odymikhwammunghwngipindanthiekiywkhxngkbekhruxngsaxang odymiraynganwasarinxinthphlmmiswnchwy dngni pxngkn UV ldorkhthangphiwhnng pxngknkarthukthalaykhxngphiw aelachwyinkarrksaaephl pxngknkarekidriwrxy epnsarthichwyinkarchalxwy rksaorkhphiwhnng epnsar Antioxidant aela Anti inflammatory epnsarthisamarthchwyinkarthakhwamsaxadid ephimkarngxkkhxngphm aelapxngknkarphmrwng chwyinkarpxngknkarthukthalaykhxngfnaelaelbwithikarekbekiyw aelakarskdkarekbekiywxinthphlminpccubntxngkhanungthungsayphnthu aelacudprasngkhinkarbriophkh khwamsukkhxngxinthphlmcathukphicarnaodyducak phlyxy chxphl aelalatn sungtxngxasykarsngektdwyta echn sikhxngphl khwamsuk nxkcakniyngsamarthphicarnaodyichthangdanekhmiekhamachwy echn primanna natal aelaexnismphayinphl xinthphlmsamarthaeykekbidepn 3 chwngkarecriyetibot sungkarekbinaetlachwng xasykarkhanungthangdan sayphnthu sphaphxakasaelakhwamtxngkarkhxngtladekharwmdwy sung 3 chwngkarecriyetibotcathukaeykdngni Khalal camikarecriyetibotxyangetmthi aekhngaelakrxb mikhwamchun 50 85 misiehluxngsdhruxsiaedng enaesiyidngay Rutab misinatalbangswn mikhwamchun 30 45 miesniythinim enaesiyidngay Tamar camisinatalekhm mikhwamchun 10 25 enuxsmphsmitngaetxxn yudhyun ipcnthungaekhng pxngknaemlngid aelasamarthekbrksaiwidnanodyimmikhxkhwrrawngepnphiess odythwipemuxxinthphlmthungraya Khalal kthuxwaphrxmsahrbkarsuxkhayepnphlim sd sungcatxngepnsayphnthuthimiaethnninta enuxngcakrschatithiidcahwanimfad inrayatxmakhux Rutab enuxngcakmikarenaesiyidngay cungcdidwaepnrayathiihrakhasung enuxngdsyrabbkarkhnsngthiyaklabak aelainraya Tamar thuxwaepnrayathiihphlphlitthiimenaesiy enuxngcakphankrabwnkarthaihaehng cungklawidwarayaniepnrayathiehmaaxyangyingsahrbkartladinrupaebbxinthphalm aehng sungehmaainkarekbrksaaelanaipbriophkhidthngpi karekbekiywphlsd insmykxncaichkhninkarekbekiyw dngnnemuxtnyingsung karekbekiywcayingyak tnthuninkarekbekiywcungsungkhunipdwy xacmikarichbnidephuxchwyinkarpinkhunipekb hruxichliftinkarykkhnkhunipekb sungkarekbxinthphlmtxngichaerngnganthimithksainkarekb sungkarichaerngngankhntxngichewlainkarekbsung aelatxngesiytnthunswnihyipkbkarcangkhnmaekbphlphlit dngnncungmikarphthnaekhruxngmuxinkarchwyinkarekb ephuxkarldtnthunthangdankarekbekiyw odymikarphyayamphthnahunyntthicasamaarthphicarnakhwamphrxminkarekbekiywkhxngphl aelachwyinkarekbekiywphlphlit karskdnayangintn odywithithicanaesnxkhuxwithikaraebbthxngthin odythicamikarexaibxxk aelathakhwamsaxadphiwhnathicathakarkrid aelwthakarpidswythithakarechuxnxxk thakaristhxekhaipinlatn aelathakaraekhwnhmxthiexaiwekbekiywephuxrxngrbkhxngehlwthicaxxkma thakarekb 2 khrng wn odyepliynhmxthukkhrng aelamikarkridephimelknxy odynathiidcanaipphankrabwnkartx odykaretim phosphoric acid lngip aelathakarkrxng karskdnamnxinthphlm thakarekbekiywchxphlkhxngxinthphlm aelanaipsngornghmkphayin 24 chwomnghlngcakkarekbekiyw ephuxpxngknimihsarthiimtxngkarephimcanwn echnkrdikhmnxisra6FFA naipskddwywithikarthaekhaekhruxngxdbib odykxnxuntxngthakarkhaechuxchxphldwyixnathixunhphumi 140 xngsaseslesiys epnewla 75 90nathi nxkcakcathaihsaxadaelw yngepnkarchwykratunkarthangankhxngexnismthicachwysrangnamnxikdwy hlngcaknncungnaipaeykphl aelathakarpxkepluxk aelanaekhaekhruxngbibxidtxip namndibthiidcathukekbrksaodykarthaihaehng aelakhxngesiythiidcakkrabwnkarni idaek thalaypalm aelaesniy khunphaphnamnpalmdibthimikhunphaphdithisudcatxngmiepxresnt FFA nxykwa 5 odymikhwamchunnxykwa 0 1 aelaepxresntkhxngsingskprkimekin 0 01 rupphaphkhxngxinthphlmPhoto of the plant and leaves flowers fruit and or seedskarkhyayphnthukarkhyayphnthuxinthphlmsamarththaid 3 withi khux cakkarephaaemd cakkaraeykhnxcaktnaem cakephaaeliyngenuxeyuxkarkhyayphnthudwykarephaaemd karkhyayphnthucakkarephaaemd pccupnimepnthiniymichkninechingphanichyechingfarmekstrkhnadihyephuxphlitphlthimikhunphaph niymichwithinisahrbkhudlxmtnkhayepnpalmpradbmakkwa khxdi khyayphnthuidxyangrwderw tnthunta ecriyetibotiddikhxesiy imruephs waepnephsphuhruxephsemiy xinthphlmepnphuchthiimsmburnephs karkhyayphnthucakkarephaaemdcungimsamarth bxkidwatnihnephsphu tnihnephsemiy aelaodypktixtraswntnephsphutxephsemiy xyuthipraman 50 50 cungxaccathaihidtntwphuthimimakekincaepninswn tntwphuthiehmaasmephiyngphxinswnkhwrmipraman 25 kephiyngphx tnthiekidkhunmacamilksnathangphnthukrrmthiaetktangknip bangtnxaccaotcha oterw phlot lksnathangkayphaph caaetktangknipbang echn khnadphl sisn rschati fadmak hwanmak hwannxy caimehmuxnknthnghmd khwbkhumkarihphlphlitidyak aetlatncung txngtngchuxechphaakhxngtnnn saknimid dngnnkarplukdwywithini cungehmaakbkarplukthildtnthun aelaphthnasayphnthuihmkhunma ichewlainkarplukkwacaihphlphlit praman 3 khunip karkhyayphnthudwykaraeykhnx karkhyayphnthucakkaraeykhnxpluk epnkarkhyayphnthuthiniymichknmachanan cnthungpccubn thngkarkhyayaeplngpluk karkhatnphnthu xinthphlmemuxtnxayu 2 pikhunipcaerimsranghnx aekhnngkhunma rxbtn mi 2 praephth khuxhnxdin aela hnxxakas thngsxngpraephthsamarthaeykkhyayippluktxid khlayaeykhnxklwy khxdi hnxthiaeykxxkmacamiphnthukrrmehmuxntnaemthukprakar thngthangkayphaph aela phnthukrrm ehmuxntnaemthukprakar ruephschdecn hnxthiaeykmacaktnaemthiepnephsxair hnxkcaepnephsnn phlphlitthiidcaehmuxnknthuktn chuxphnthusamarthichchuxediywknid khwbkhumkhunphaphidngay ihphlphlitiderw ephraahnxthiaeykmaepntnthiot phxsmkhwr emuxfuntwsmburn casamarthihphlphlitidelykhxesiy rakhahnxcasung tnthuninkarplukcasungtamipdwy ephraahnxthixxkmamicanwncakd imphxephiyngkbkhwamtxngkar txngduaelexaicisinrayaaeykthiephingaeykhnxmapluk ephraacaekidepnechuxra rakenaokhnenaidngaykarkhyayphnthudwyephaaeliyngenuxeyux karkhyayphnthucakkarephaaeliyngenuxeyux epnethkhonolyismyihm odyichhnxcaktnaemphnth phnthuaeth phnthuthiepnthiyxmrbepnsakl mathakarephaaeliyngenuxeyuxepntnklakhunphaphkhunmathiepnthangeluxkthiaekpyhacak karephaaemd aela karaeykhnx ehmaakbkarkhyayphnthu echingkhunphaphidxyangdiying khxdi idtnthiekidkhun phnthukrrmcaehmuxntnaemphnthuthukprakar ehmuxnkaraeykhnx ruephschdecn epntnephsemiy 100 immikarklayphnthu sayphnthuthiidepnsayphnthumatrthansakl epnthiyxmrbinradbsaklxyuaelw phlphlitthiidcaehmuxnknthuktn chuxphnthusamarthichchuxediywknid khwbkhumkhunphaphidngaykhxesiy rakhayngkhngsungxyuinpccubn samarthkhyayphnthudwykarephaaeliyngenuxeyuxidaelwodyokhrngngankhxngnisitpriyyaexkthikhnaekstrsastr mhawithyalynerswr epnaehngaerkinpraethsithy aetyngmicanwnimmak aelatnklayngimsung cungimsamarththainechingphanichyidpraoychnkhxngxinthphlmsamarthaebngid 2 danihykhux dankhunkhathangophchnakar sarxaharthiepnpraoychntxrangkaykhxngxinthphlm echn aekhlesiym slefxr ehlk ophaethsesiym fxsfxrs aemngkanis aemkniesiym aelanamnowlaitl thngyngxudmipdwyesniyxahar sungchwyldxakarthxngphuk rwmthungihphlngngansung barungrangkaythixxnlaihklbmikalng nxkcakniyngsamarthbarungklamenuxmdlukaelasrangnanmaemdwy dankarrksaorkh xinthphlmchwybarungrangkay barungsayta ldkhwamhiw aekkrahay aekorkhwingewiynsirsa chwyldesmhainlakhx thaihkradukaekhngaerng nxkcakniyngkhaechuxorkh phyathiaelasarphisthitkxyuinlaisaelarabbthangedinxahar mivththiinkarkacdsarphisaelaybyngkarecriyetibotkhxngechuxorkhxnepnsaehtuihekidorkhmaernginchxngthxnginthangsasnaxislaminthangsasnaxislam nbimuhmmd sasdaidsxnwa phuidthicaldsilxdihrbprathanxaharmuxaerkdwyxinthphlmaelanabrisuththi enuxngcakinxinthphlmmisarxaharthiepnpraoychncanwnmaktxrangkay cungehmaaxyangmakkbphuthixdxaharmaepnrayaewlananxangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 ihsakdkhaniwa xinthphlm Phoenix dactylifera L Plants of the World Online Kew Science Plants of the World Online phasaxngkvs Properties of Date Palm Phoenix dactylifera and Its Applications A Review https www researchgate net publication 362788837 Properties of Date Palm Phoenix dactylifera and Its Applications A Review Alharbi Khlood Lafi Raman Jegadeesh Shin Hyun Jae 2021 09 Date Fruit and Seed in Nutricosmetics Cosmetics phasaxngkvs 8 3 59 doi 10 3390 cosmetics8030059 ISSN 2079 9284 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a trwcsxbkhawnthiin date help Date Palm Cultivation www fao org FAOSTAT www fao org Date palm products Chapter 5 www fao org A VISION SYSTEM FOR DATE HARVESTING ROBOT https www researchgate net publication 352212974 A VISION SYSTEM FOR DATE HARVESTING ROBOT Mustapa Ana Najwa Extraction of palm oil from palm mesocarp using sub critical R134a a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 7 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 3 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 0 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 5 Mohammed Naba Jasim Othman Norinsan Kamil Al Gburi Ahmed Jamal Abdullah Yusop Rahimi M 2023 01 Date Palm Seed Extract for Mild Steel Corrosion Prevention in HCl Medium Separations phasaxngkvs 10 1 54 doi 10 3390 separations10010054 ISSN 2297 8739 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a trwcsxbkhawnthiin date help