อะบูซิมเบล (อาหรับ: أبو سمبل ,أبو سنبل; อังกฤษ: Abu Simbel) เป็นมหาวิหารของอียิปต์โบราณอันประกอบขึ้นจากหินขนาดใหญ่สองก้อน มีลักษณะเป็นรูปปั้นองค์ฟาโรห์ทั้งสี่ ส่วนองค์ที่สองถล่มลงเนื่องจากแผ่นดินไหว ตั้งอยู่ทางใต้ของอียิปต์ บนริมฝั่งตะวันตกของ ระยะทางประมาณ 290 กิโลเมตรจากอัสวาน และเป็นโบราณสถานหนึ่งในมรดกโลกขององค์การยูเนสโก นอกจากนี้ยังรู้จักกันในนาม อนุสรณ์สถานแห่งนิวเบีย แต่เดิมมหาวิหารถูกก่อสร้างโดยการเจาะแกะสลักเข้าไปในภูเขาหินในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์รามเสสที่ 2 ในช่วง และยังเป็นอนุสรณ์สถานแห่งสุดท้ายของพระองค์และพระมเหสีของพระองค์นั้นคือ ซึ่งอะบูซิมเบล ยังมีจุดประสงค์เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองกับชัยชนะของอียิปต์ที่มีต่อนิวเบียที่ อีกทั้งเพื่อเป็นการข่มขู่นิวเบียไม่ให้มารุกรานอียิปต์ซึ่งเป็นอาณาจักรใกล้เคียง อย่างไรก็ตามมหาวิหารทั้งหมดถูกเคลื่อนย้ายโดยคณะวิศวกรจากสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งใช้เวลาตลอดทั้ง เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาน้ำท่วมจากการสร้างเขื่อนอัสวาน อันจะส่งผลให้มหาวิหารและโบราณสถานที่รายรอบอยู่ต้องจมอยู่ก้น ปัจจุบันมหาวิหารเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมอย่างมากและโด่งดังแห่งหนึ่งของอียิปต์ ซึ่งครั้งหนึ่งนักท่องเที่ยวชาวเยอรมันและญี่ปุ่นเคยถูกลอบสังหารขณะเดินทางไปยังสถานที่แห่งนี้[]
วิหารใหญ่แห่งฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 (ซ้าย) และวิหารเล็กสำหรับเทพีแฮธอร์ และ (ขวา). | |
แสดงที่ตั้งภายในประเทศอียิปต์ | |
ที่ตั้ง | , อียิปต์ |
---|---|
ภูมิภาค | นูเบีย |
พิกัด | 22°20′13″N 31°37′32″E / 22.33694°N 31.62556°E |
ประเภท | วิหาร |
ความเป็นมา | |
ผู้สร้าง | ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2 |
สร้าง | ประมาณ 1264 ปีก่อนค.ศ. |
สมัย | จักรวรรดิอียิปต์ |
ชื่อที่ขึ้นทะเบียน | กลุ่มอนุสาวรีย์แห่งนูเบียตั้งแต่อะบูซิมเบลจนถึงฟีลาเอ |
ประเภท | วัฒนธรรม |
เกณฑ์ | i, iii, vi |
ขึ้นเมื่อ | 1979 (3rd session) |
เลขอ้างอิง | 88 |
แคว้น | รัฐอาหรับ |
ประวัติศาสตร์
การก่อสร้าง
การก่อสร้างของมหาวิหารทั้งหมดเริ่มต้นขึ้นประมาณปี 1224 ก่อนคริศตกาล และเสร็จสมบูรณ์ในอีก 20 ปีต่อมา ในปี 1244 ก่อนคริศตกาล รู้จักกันในนาม "วิหารแห่งรามเสสอันเป็นที่รักของเทพเจ้าอามุน ซึ่งเคยเป็นหนึ่งในหกวิหารหินแกะสลักที่ก่อสร้างขึ้นในนิวเบียในช่วงระยะเวลาการครองราชย์อันยาวนานของฟาโรห์รามเสสที่ 2 ซึ่งอียิปต์โบราณเจตนาให้เป็นที่ประทับใจต่ออาณาจักรเพื่อนบ้านทางใต้ อีกทั้งยังเจตนาเพื่อเป็นการเผยแพร่ศาสนาของชาวอียิปต์เข้าไปในแคว้นทางใต้ นักประวัติศาสตร์กล่าวว่าสถาปัตยกรรมของอะบูซิมเบลยังบ่งบอกถึงความภูมิใจและตัวตนของฟาโรห์รามเสสที่ 2 อยู่เล็กน้อย
การค้นพบ
ด้วยกาลเวลาที่ล่วงเลยผ่านไปอย่างยาวนาน มหาวิหารถูกทิ้งร้างและตกอยู่ในสภาพที่ทรุดโทม จนกระทั่งมหาวิหารถูกกลืนกินโดยทรายจากทะเลทรายซาฮาร่า ซึ่งรูปแกะสลักขนาดยักษ์ขององค์ฟาโรห์ทั้งสี่ถูกกลืนกินโดยทรายจนถึงหัวเข่าในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล จนกลายเป็นมหาวิหารที่ถูกหลงลืมกระทั่งปี ค.ศ. 1813 เมื่อนักประวัติศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรมตะวันออกชาวสวิสเซอร์แลนด์ หรือรู้จักกันในนาม เจแอล เบิร์คฮารดต์ ค้นพบส่วนบนของฟรีส (ลวดลายสลักใต้ชายคาของสิ่งก่อสร้าง) โจฮันได้เล่าถึงการค้นพบของเขาให้แกนักสำรวจชาวอิตาลีที่ชื่อ ผู้ที่เดินทางไปยังจุดค้นพบแต่ก็ไม่สามารถขุดไปยังทางเข้าของมหาวิหารได้ เบลโซนี่ได้กลับมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1817 ครั้งนี้เขาประสบความสำเร็จจากความพยายามที่จะเข้าไปยังมหาวิหารของเขา เขากลับออกมาพร้อมกับข้าวของอันล้ำค่าหรือข้าวของที่สามารถแบกออกมาได้ติดตัวออกมาด้วย ส่วนชื่อ "อะบูซิมเบล" มาจากชื่อของเด็กท้องถิ่นที่เคยนำชมมหาวิหารในช่วงที่มีการสำรวจอีกครั้ง ซึ่งเขาเป็นผู้ค้นพบส่วนที่ถูกฝังของมหาวิหารที่เหลือ จากการที่ทรายได้เคลื่อนตัวเผยให้เห็นส่วนที่เหลือ กระทั่งท้ายที่สุดได้มีการเรียกชื่อตามชื่อของเขา
สมุดภาพ
แหล่งข้อมูลอื่น
- แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ อะบูซิมเบล
- ภาพถ่ายดาวเทียมจากวิกิแมเปีย หรือกูเกิลแมปส์
- แผนที่จากลองดูแมป หรือเฮียวีโก
- ภาพถ่ายทางอากาศจากเทอร์ราเซิร์ฟเวอร์
22°20′13″N 31°37′32″E / 22.336944°N 31.625556°E{{#coordinates:}}: ไม่สามารถมีป้ายกำกับหลักมากกว่าหนึ่งป้ายต่อหน้าได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xabusimebl xahrb أبو سمبل أبو سنبل xngkvs Abu Simbel epnmhawiharkhxngxiyiptobranxnprakxbkhuncakhinkhnadihysxngkxn milksnaepnruppnxngkhfaorhthngsi swnxngkhthisxngthlmlngenuxngcakaephndinihw tngxyuthangitkhxngxiyipt bnrimfngtawntkkhxng rayathangpraman 290 kiolemtrcakxswan aelaepnobransthanhnunginmrdkolkkhxngxngkhkaryuensok nxkcakniyngruckkninnam xnusrnsthanaehngniwebiy aetedimmhawiharthukkxsrangodykarecaaaekaslkekhaipinphuekhahininchwngrchsmykhxngfaorhramessthi 2 inchwng aelayngepnxnusrnsthanaehngsudthaykhxngphraxngkhaelaphramehsikhxngphraxngkhnnkhux sungxabusimebl yngmicudprasngkhephuxepnkarechlimchlxngkbchychnakhxngxiyiptthimitxniwebiythi xikthngephuxepnkarkhmkhuniwebiyimihmarukranxiyiptsungepnxanackriklekhiyng xyangirktammhawiharthnghmdthukekhluxnyayodykhnawiswkrcakswitesxraelnd sungichewlatlxdthng ephuxhlikeliyngpyhanathwmcakkarsrangekhuxnxswan xncasngphlihmhawiharaelaobransthanthirayrxbxyutxngcmxyukn pccubnmhawiharepnsthanthithxngethiywthiidrbkhwamniymxyangmakaelaodngdngaehnghnungkhxngxiyipt sungkhrnghnungnkthxngethiywchaweyxrmnaelayipunekhythuklxbsngharkhnaedinthangipyngsthanthiaehngni txngkarxangxing xabusimeblwiharihyaehngfaorhaeremsisthi 2 say aelawiharelksahrbethphiaehthxr aela khwa aesdngthitngphayinpraethsxiyiptthitng xiyiptphumiphakhnuebiyphikd22 20 13 N 31 37 32 E 22 33694 N 31 62556 E 22 33694 31 62556praephthwiharkhwamepnmaphusrangfaorhaeremsisthi 2srangpraman 1264 pikxnkh s smyckrwrrdixiyiptaehlngmrdkolkodyyuensokchuxthikhunthaebiynklumxnusawriyaehngnuebiytngaetxabusimeblcnthungfilaexpraephthwthnthrrmeknthi iii vikhunemux1979 3rd session elkhxangxing88aekhwnrthxahrbprawtisastrkarkxsrang karkxsrangkhxngmhawiharthnghmderimtnkhunpramanpi 1224 kxnkhristkal aelaesrcsmburninxik 20 pitxma inpi 1244 kxnkhristkal ruckkninnam wiharaehngramessxnepnthirkkhxngethphecaxamun sungekhyepnhnunginhkwiharhinaekaslkthikxsrangkhuninniwebiyinchwngrayaewlakarkhrxngrachyxnyawnankhxngfaorhramessthi 2 sungxiyiptobranectnaihepnthiprathbictxxanackrephuxnbanthangit xikthngyngectnaephuxepnkarephyaephrsasnakhxngchawxiyiptekhaipinaekhwnthangit nkprawtisastrklawwasthaptykrrmkhxngxabusimeblyngbngbxkthungkhwamphumiicaelatwtnkhxngfaorhramessthi 2 xyuelknxy karkhnphb dwykalewlathilwngelyphanipxyangyawnan mhawiharthukthingrangaelatkxyuinsphaphthithrudothm cnkrathngmhawiharthukklunkinodythraycakthaelthraysahara sungrupaekaslkkhnadykskhxngxngkhfaorhthngsithukklunkinodythraycnthunghwekhainstwrrsthi 6 kxnkhristkal cnklayepnmhawiharthithukhlnglumkrathngpi kh s 1813 emuxnkprawtisastrthisuksaekiywkbwthnthrrmtawnxxkchawswisesxraelnd hruxruckkninnam ecaexl ebirkhhardt khnphbswnbnkhxngfris lwdlayslkitchaykhakhxngsingkxsrang ochnidelathungkarkhnphbkhxngekhaihaeknksarwcchawxitalithichux phuthiedinthangipyngcudkhnphbaetkimsamarthkhudipyngthangekhakhxngmhawiharid eblosniidklbmaxikkhrnginpi kh s 1817 khrngniekhaprasbkhwamsaerccakkhwamphyayamthicaekhaipyngmhawiharkhxngekha ekhaklbxxkmaphrxmkbkhawkhxngxnlakhahruxkhawkhxngthisamarthaebkxxkmaidtidtwxxkmadwy swnchux xabusimebl macakchuxkhxngedkthxngthinthiekhynachmmhawiharinchwngthimikarsarwcxikkhrng sungekhaepnphukhnphbswnthithukfngkhxngmhawiharthiehlux cakkarthithrayidekhluxntwephyihehnswnthiehlux krathngthaythisudidmikareriykchuxtamchuxkhxngekhasmudphaphaehlngkhxmulxunaephnthiaelaphaphthaythangxakaskhxng xabusimebl phaphthaydawethiymcakwikiaemepiy hruxkuekilaemps aephnthicaklxngduaemp hruxehiywiok phaphthaythangxakascakethxrraesirfewxr 22 20 13 N 31 37 32 E 22 336944 N 31 625556 E 22 336944 31 625556 coordinates imsamarthmipaykakbhlkmakkwahnungpaytxhnaid bthkhwamxakhar hrux sthanthisakhyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk