อาชีวเวชศาสตร์ (อังกฤษ: occupational medicine) เป็นวิชาการแพทย์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องการดูแลสุขภาพของคนทำงาน วิชาอาชีวเวชศาสตร์นี้ ครอบคลุมตั้งแต่การส่งเสริม ป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟื้นฟูสุขภาพของคนทำงาน แต่เนื่องจากปัญหาโรคจากการทำงานส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่ป้องกันได้ องค์ความรู้ของวิชานี้ในปัจจุบันจึงเน้นหนักไปทางการป้องกันโรคเป็นหลัก และวิชาอาชีวเวชศาสตร์ถูกจัดว่าเป็นแขนงหนึ่งของวิชาเวชศาสตร์ป้องกันด้วย แพทย์เฉพาะทางที่มีความเชี่ยวชาญในวิชาอาชีวเวชศาสตร์นั้นเรียกว่าอาชีวแพทย์
ความเป็นมาของอาชีวเวชศาสตร์
ความสนใจในปัญหาสุขภาพของคนงานนั้น มีเกิดขึ้นเนื่องจากมีผู้สังเกตเห็นว่าการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม คนงานแต่ละคนจะต้องสัมผัสกับสารเคมีพิษ ฝุ่นละออง เสียงดัง การทำงานออกแรงในท่าทางต่างๆ ซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน สิ่งคุกคามต่อสุขภาพแบบต่างๆ ซึ่งจะทำให้คนงานแต่ละคนเกิดโรคจากการทำงาน (occupational disease) ขึ้น ตามความเสี่ยงของลักษณะงานที่ทำ นายแพทย์ชาวอิตาลีชื่อ เป็นคนแรกที่จุดประเด็นความสนใจนี้ขึ้น โดยได้เขียนสิ่งที่เขาค้นพบไว้ในหนังสือชื่อ (แปลว่า "โรคของคนทำงาน") ซึ่งตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1713 จากเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ ทำให้แพทย์หันมาให้ความสนใจกับการดูแลสุขภาพของคนทำงานมากขึ้น และนายแพทย์ Bernardino Ramazzini ถูกยกย่องให้เป็นผู้ให้กำเนิดวิชาอาชีวเวชศาสตร์
ขอบเขตของวิชาอาชีวเวชศาสตร์
ปัจจุบันวิชาอาชีวเวชศาสตร์มีขอบเขตของเนื้อหาวิชาการดังนี้
- โรคปอดจากการทำงาน เช่น ปอดฝุ่นหิน ปอดใยหิน ปอดฝุ่นฝ้าย ปอดชานอ้อย
- โรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน
- โรคผิวหนังจากการทำงาน
- โรคมะเร็งจากการทำงาน
- โรคของระบบอวัยวะอื่น ๆ จากการทำงาน เช่น โรคตา โรคของระบบสืบพันธุ์ โรคระบบประสาท
- โรคจากสิ่งคุกคามทางกายภาพ เช่น เสียงดัง ความสั่นสะเทือน รังสี ความกดอากาศ
- โรคจากพิษของสารเคมี เช่น เบนซีน โทลูอีน ไซลีน, โรคจากสารโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมี่ยม
- โรคติดเชื้อจากการทำงาน
- โรคจากปัญหาการจัดท่าทางในการทำงาน และการใช้วิชา (ergonomics) ในการแก้ไขปัญหา
- โรคจากปัญหาทางจิตสังคมในที่ทำงาน การทำงานกะดึก การทำงานผิดเวลา (shift work)
- การตรวจสุขภาพคนทำงาน เช่น การตรวจสุขภาพก่อนเข้างาน การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจสุขภาพก่อนเกษียณ
- การดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน (return to work) และ การประเมินความพร้อมในการทำงาน (fitness for work)
- การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน
- การตรวจร่างกายเพื่อประเมินความสูญเสียสมรรถภาพ
- การจัดโปรแกรมดูแลสุขภาพคนทำงาน
- การวิจัยเพื่อเพิ่มพูนองค์ความรู้ใหม่
ความสัมพันธ์ระหว่างอาชีวเวชศาสตร์กับอาชีวอนามัย
อาชีวเวชศาสตร์เป็นส่วนหนึ่งของงานอาชีวอนามัย กล่าวคือ อาชีวอนามัย (occupational health) หมายถึงการดูแลสุขภาพอนามัยของคนทำงาน ผู้ดำเนินการคือผู้มีความรู้ทางด้านสาธารณสุขจากสาขาวิชาชีพใดก็ตาม ส่วนอาชีวเวชศาสตร์มีความหมายเฉพาะลงไป หมายถึงการดำเนินการดูแลสุขภาพของคนทำงานโดยใช้ศาสตร์ทางด้านการแพทย์ ดำเนินการโดยแพทย์เท่านั้น ซึ่งจะต้องมีการตรวจร่างกายผู้ป่วย การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการการป้องกัน การรักษา การฟื้นฟู การส่งต่อผู้ป่วยอันเกี่ยวเนื่องจากโรคจากการทำงาน หรือการเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงานกับแพทย์สาขาอื่น หรือบริการสุขภาพอื่น ๆ รวมอยู่ด้วย ความสัมพันธ์ของอาชีวอนามัยกับอาชีวเวชศาสตร์ อาจเปรียบเทียบได้กับศาสตร์ทางการแพทย์สาขาอื่นเช่น ความสัมพันธ์ของนิติวิทยาศาสตร์กับนิติเวชศาสตร์ หรือจิตวิทยากับจิตเวชศาสตร์ เป็นอาทิ
อ้างอิง
- http://ajph.aphapublications.org/cgi/reprint/91/9/1382.pdf
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-07. สืบค้นเมื่อ 2010-10-19.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xachiwewchsastr xngkvs occupational medicine epnwichakaraephthyaekhnnghnung wadwyeruxngkarduaelsukhphaphkhxngkhnthangan wichaxachiwewchsastrni khrxbkhlumtngaetkarsngesrim pxngknorkh karrksaorkh aelakarfunfusukhphaphkhxngkhnthangan aetenuxngcakpyhaorkhcakkarthanganswnihycaepnpyhathipxngknid xngkhkhwamrukhxngwichaniinpccubncungennhnkipthangkarpxngknorkhepnhlk aelawichaxachiwewchsastrthukcdwaepnaekhnnghnungkhxngwichaewchsastrpxngkndwy aephthyechphaathangthimikhwamechiywchayinwichaxachiwewchsastrnneriykwaxachiwaephthykhwamepnmakhxngxachiwewchsastrkhwamsnicinpyhasukhphaphkhxngkhnngannn miekidkhunenuxngcakmiphusngektehnwakarthanganinorngnganxutsahkrrm khnnganaetlakhncatxngsmphskbsarekhmiphis funlaxxng esiyngdng karthanganxxkaernginthathangtang sa knepnewlanan singkhukkhamtxsukhphaphaebbtang sungcathaihkhnnganaetlakhnekidorkhcakkarthangan occupational disease khun tamkhwamesiyngkhxnglksnanganthitha nayaephthychawxitalichux epnkhnaerkthicudpraednkhwamsnicnikhun odyidekhiynsingthiekhakhnphbiwinhnngsuxchux aeplwa orkhkhxngkhnthangan sungtiphimphinpi kh s 1713 cakenuxhainhnngsuxelmni thaihaephthyhnmaihkhwamsnickbkarduaelsukhphaphkhxngkhnthanganmakkhun aelanayaephthy Bernardino Ramazzini thukykyxngihepnphuihkaenidwichaxachiwewchsastrkhxbekhtkhxngwichaxachiwewchsastrpccubnwichaxachiwewchsastrmikhxbekhtkhxngenuxhawichakardngni orkhpxdcakkarthangan echn pxdfunhin pxdiyhin pxdfunfay pxdchanxxy orkhkradukaelaklamenuxcakkarthangan orkhphiwhnngcakkarthangan orkhmaerngcakkarthangan orkhkhxngrabbxwywaxun cakkarthangan echn orkhta orkhkhxngrabbsubphnthu orkhrabbprasath orkhcaksingkhukkhamthangkayphaph echn esiyngdng khwamsnsaethuxn rngsi khwamkdxakas orkhcakphiskhxngsarekhmi echn ebnsin othluxin islin orkhcaksarolhahnk echn takw prxth aekhdemiym orkhtidechuxcakkarthangan orkhcakpyhakarcdthathanginkarthangan aelakarichwicha ergonomics inkaraekikhpyha orkhcakpyhathangcitsngkhminthithangan karthangankaduk karthanganphidewla shift work kartrwcsukhphaphkhnthangan echn kartrwcsukhphaphkxnekhangan kartrwcsukhphaphpracapi kartrwcsukhphaphkxneksiyn karduaelphupwykxnklbekhathangan return to work aela karpraeminkhwamphrxminkarthangan fitness for work karwinicchyorkhcakkarthangan kartrwcrangkayephuxpraeminkhwamsuyesiysmrrthphaph karcdopraekrmduaelsukhphaphkhnthangan karwicyephuxephimphunxngkhkhwamruihmkhwamsmphnthrahwangxachiwewchsastrkbxachiwxnamyxachiwewchsastrepnswnhnungkhxngnganxachiwxnamy klawkhux xachiwxnamy occupational health hmaythungkarduaelsukhphaphxnamykhxngkhnthangan phudaeninkarkhuxphumikhwamruthangdansatharnsukhcaksakhawichachiphidktam swnxachiwewchsastrmikhwamhmayechphaalngip hmaythungkardaeninkarduaelsukhphaphkhxngkhnthanganodyichsastrthangdankaraephthy daeninkarodyaephthyethann sungcatxngmikartrwcrangkayphupwy karsngtrwcthanghxngptibtikar odymiwtthuprasngkhephuxihekidkarkarpxngkn karrksa karfunfu karsngtxphupwyxnekiywenuxngcakorkhcakkarthangan hruxkarecbpwyenuxngcakkarthangankbaephthysakhaxun hruxbrikarsukhphaphxun rwmxyudwy khwamsmphnthkhxngxachiwxnamykbxachiwewchsastr xacepriybethiybidkbsastrthangkaraephthysakhaxunechn khwamsmphnthkhxngnitiwithyasastrkbnitiewchsastr hruxcitwithyakbcitewchsastr epnxathixangxinghttp ajph aphapublications org cgi reprint 91 9 1382 pdf khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 03 07 subkhnemux 2010 10 19