อาคารคิวนาร์ด (อังกฤษ: Cunard Building) เป็นสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการประกาศให้เป็นอาคารอนุรักษ์ประเภท 2 และเป็น 1 ใน 3 อาคารที่สำคัญของเมืองลิเวอร์พูล สหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ริมแม่น้ำพื้นที่หัวมุมใกล้กับตึกลิเวอร์ และท่าเรือของเมือง นอกจากนี้ยังได้รับรองจากยูเนสโกให้เป็นมรดกโลก ผู้ออกแบบอาคารคือวิลเลียม เอ็ดเวิร์ด วิลลิงก์ (William Edward Willink) และฟิลิป โคลด์เวลล์ ทิกเนสส์ (Philip Coldwell Thicknesse) สร้างขึ้นระหว่างปี 1914–1917 เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากพระราชวังในอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมแบบอิตาลีและกรีก ที่เน้นการตกแต่งด้านนอกอาคารให้มีความหรูหรา
อาคารคิวนาร์ด | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ประเภท | (Office Building) |
สถาปัตยกรรม | Italian Renaissance and สถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก |
ที่ตั้ง | ลิเวอร์พูล, ประเทศอังกฤษ |
ผู้เช่าในปัจจุบัน | Variety of and sector firms |
เริ่มสร้าง | 1914 |
แล้วเสร็จ | 1917 |
เจ้าของ | Merseyside Pension Fund |
ข้อมูลทางเทคนิค | |
โครงสร้าง | คอนกรีตเสริมแรง with cladding |
การออกแบบและการก่อสร้าง | |
สถาปนิก | William Edward Willink and Philip Coldwell Thicknesse |
ผู้รับเหมาก่อสร้าง |
ปี 1960 บริษัทคิวนาร์ดได้สร้างอาคารนี้ขึ้นเพื่อเป็นสถานีท่าสำหรับดำเนินธุรกิจการเดินทางจากลิเวอร์พูลไปแอตแลนติก โดยตั้งอยู่ตรงข้ามอาคารแอลเบียน สำนักงานใหญ่บริษัทไวต์สตาร์ไลน์ ปัจจุบันอาคารคิวนาร์ดได้ขายให้แก่บริษัทกองทุนเมอร์ซีย์ไซด์ และเปิดให้เข้าชมได้เป็นบางส่วน
ประวัติศาสตร์
ย้อนกลับไปเมื่อปี 1914 เมื่อบริษัทเดินเรือคิวนาร์ดต้องการสร้างสำนักงานใหญ่แห่งใหม่ เพื่อรองรับการขยายตัวของบริษัท และต้องอยู่ในลิเวอร์พูล อาคารได้รับการออกแบบโดยวิลเลียม เอ็ดเวิร์ด วิลลิงก์ และฟิลิป โคลด์เวลล์ ทิกเนสส์ (William Edward Willink and Philip Coldwell Thicknesse) ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากพระราชวังสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี และควบคุมการก่อสร้างโดยบริษัทฮอลแลนด์, ฮันเนน และคิวบิตส์ ช่วงปี 1914 – 1917 ส่วนที่ปรึกษาโครงการก่อสร้างได้แก่ J.Davis with Arthur J. Davis, of Mewes and Davis, acting as consultant on the project.
ปี 1934 บริษัทคิวนาร์ดได้ควบรวมธุรกิจกับบริษัทไวต์สตาร์ไลน์ ทำให้กลายเป็นบริษัทที่ดำเนินธุรกิจขนส่งเส้นทางแอตแลนติกที่ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลก และเมืองลิเวอร์พูลก็ได้กลายเป็นเมืองท่าที่สำคัญเมืองหนึ่งอีกด้วย ส่วนอาคารคิวนาร์ดหลังจากควบรวมกิจการแล้วยังคงเป็นอาคารสำนักงานใหญ่ต่อไป เพื่อใช้เป็นที่ทำงานแผนกธุรการ และขนส่งสินค้าทางเรือเข้าทางใต้อาคารเพราะอาคารตั้งอยู่ไม่ไกลจากแม่น้ำเมอร์ซีย์ และมีการออกแบบชั้นล่างของอาคารให้เรือสามารถแล่นเข้ามาได้ เรือหลายลำได้รับการออกแบบในตึกคิวนาร์ด สองลำในจำนวนนั้นคือ อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี (RMS Queen Mary) และอาร์เอ็มเอส ควีนเอลิซาเบท (RMS Queen Elizabeth) ภายในอาคารคิวนาร์ดมีการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารที่เดินทางโดยเรือ และรถยนต์ รวมทั้งเพื่อให้บริการแก่พนักงานด้วยเช่นกัน ตัวอย่างของสิ่งอำนวยความสะดวกที่ให้บริการ เช่น ห้องพักผู้โดยสารโดยแยกแต่ละคลาส, ห้องสมุด, ห้องฝากกระเป๋า ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เมืองลิเวอร์พูลกลายเป็นเมืองท่าหลักของเส้นทางเดินเรือไปยังแอตแลนติก และช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 อาคารได้ปรับปรุงโครงสร้างให้มีความทนทานต่อการถูกโจมตี และชั้นใต้ตินได้ปรับเป็นหลุมหลบภัยของประชาชนทั่วไปและพนักงานของบริษัท
บริษัทคิวนาร์ดยังคงใช้อาคารสำนักงานใหญ่เดิม จนถึงปี 1960 จึงได้ตัดสินใจย้ายแผนกธุรการไปอยู่เมืองเซาแทมป์ตัน (Southampton) เมืองทางใต้ของอังกฤษ และย้ายสำนักงานใหญ่ไปอยู่นิวยอร์ก และปี 1969 ได้ขายอาคารนี้ให้กับบริษัทพรูเด็นเชิล (Prudential) ช่วงปี 1965 องค์กรอนุรักษ์แห่งอังกฤษได้ประกาศให้อาคารเป็นอาคารอนุรักษ์ประเภท 2 พร้อมกับอาคารลิเวอร์และท่าเรือเมืองลิเวอร์พูล ต่อมาปี 2001 อาคารได้กลายเป็นแมนชั่นสำหรับพนักงานบริษัทกองทุนเมอร์ซีย์ไซด์ แพนชั่นที่มาประจำที่เมืองลิเวอร์พูล ปัจจุบันอาคารได้ปรับให้เป็นพื้นที่ให้เช่าสำหรับสำนักงานต่าง ๆ และแมนชั่นสำหรับคนทั่วไป และผู้เช่ารายหนึ่งได้แก่หน่วยราชการของนอร์ทเวส ปี 2008 เดือนพฤศจิกายน ได้มีโครงการอนุรักษ์อาคาร ซึ่งกำหนดโดยองค์กรอนุรักษ์แห่งอังกฤษและองค์กรท้องถิ่น เพื่อควบคุมการปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงอาคารต่าง ๆ The plan involved collaboration with English Heritage and the Local Authority Conservation Officer and would be used to control any modification and repairs made to the building.
ปี 2013 เดือนตุลาคม สภาเมืองลิเวอร์พูลได้รับการอนุมัติเพื่อซื้ออาคารคิวนาร์ด เพื่อใช้เป็นที่อยู่ให้กับพนักงานประมาณ 1000 คน และเป็นท่าเรือ ซึ่งจะทำให้ประหยัดงบประมาณการจ่ายค่าเช่าบ้านให้พนักงานได้ประมาณ 1.3 ล้านปอนด์
รูปแบบการก่อสร้างอาคาร
รูปแบบการก่อสร้างอาคารคิวนาร์ดเป็นการผสมระหว่างสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาแบบอิตาลี กับสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกรีก ซึ่งสถาปนิกวิลลิงก์และโคลด์เวลล์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากบัลดัสซาเร เปรุซซี สถาปนิกชาวอิตาลี ซึ่งอิทธิพลของศิลปะนี้สามารถเห็นได้ทั่วไปในโรม ตัวอย่างเช่น พระราชวังฟาร์เนเซ แม้ว่ารูปแบบจะเน้นความแข็งแรงแบบอิตาลี แต่สถาปนิกได้เลือกตกแต่งโดยรอบตึกด้วยสถาปัตยกรรมแบบกรีก ทำให้โครงสร้างตึกดูใหญ่กว่าพระราชวังต้นแบบ และมีความสง่างามเหมือนอาคารหอศิลป Beaux ที่ตั้งอยู่ในนิวยอร์ก
รูปแบบอาคารคิวนาร์ดเป็นทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าตัวอาคารสูง 6 ชั้น และมีชั้นใต้ดิน 2 ชั้น โดยสร้างทีหลังตึกลิเวอร์ และท่าเรือของลิเวอร์พูล ด้วยข้อจำกัดของพื้นที่ ทำให้โครงสร้างอาคารด้านทิศตะวันออกกว้างกว่าทิศตะวันตก 30 ฟุต ประตูทางเข้าแต่ละด้านทำจากแผ่นไม้โอ๊กขนาดใหญ่และมีเสาขนาบข้างซึ่งเป็นศิลปแบบกรีกและยังคงสามารถเห็นได้ในปัจจุบันที่ชั้น 1 ของอาคาร
ตัวอาคารสร้างจากคอนกรีตเสริมเหล็ก และฉาบด้วยหินพอร์ตแลนด์ และตกแต่งด้วยปูนปั้นรอบตึก ในที่นี้ได้มีรูปปั้นของบริแทนเนีย เนปจูน เช่นเดียวกับเทพแห่งความสงบสุข สงคราม ความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งรูปปั้นสัญลักษณ์ราศี และปลอกแขนสัญลักษณ์ของฝ่ายพันธมิตรที่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 และรูปปั้นสิ่งสำคัญอื่น ๆ รอบโลก เพื่อเป็นสัญลักษณ์ว่าธุรกิจของบริษัทได้กระจายไปทั่วโลก หินอ่อนได้นำมาใช้เพื่อปูทางเดินเข้าตึกทางด้านเหนือ และใต้ โดยนำเข้าจากอิตาลีและกรีซ
การวางแผนสำหรับใช้พื้นที่อาคารนั้นมีหลากหลายวัตถุประสงค์ เช่นในส่วนสำนักงานที่ต้องการพื้นที่มากและใช้ไฟเยอะสำหรับทำงานได้ จึงเอาไว้ในส่วนชั้นบนที่มีหน้าต่างขนาดใหญ่ สามารถเปิดให้แสงแดดส่องเข้ามาได้ รวมทั้งมีดวงไฟที่ติดตั้งหลายจุด ส่วนให้บริการผู้โดยสารชั้น 1 ได้จัดห้องรับรองอยู่ที่ขั้น 1 สำหรับห้องพักผู้บริการ จะอยู่ชั้น 5 เพื่อเห็นทิวทัศน์แม่น้ำด้านล่าง
หนึ่งในคุณสมบัติที่โดดเด่นที่สุดของอาคาร คือมีห้องใต้ดินทั้งขนาดใหญ่และเล็ก โดยเป็นที่สำหรับจัดเก็บเอกสาร และกระเป๋าเดินทางของผู้โดยสาร รวมทั้งถ่านหินก็เก็บในส่วนนี้โดยมีรางรถไฟ เพื่อขนถ่านหินไปยัง boiler เพื่อผลิตความร้อนสำหรับอาคาร ปัจจุบันรูปแบบเดิม ๆ แบบนี้ยังคงมีอยู่ในอาคาร แม้กระทั่งชั้นวางสัมภาระที่เป็นไม้ เอกสารการเดินเรือ ปัจจุบันห้องใต้ดินนี้ได้ปรับเป็นห้องเก็บเอกสารของลูกค้าบุคคลสำคัญ เพื่อเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งพิมพ์เขียวของอาคารก็เก็บแสดงในส่วนนี้
อนุสรณ์สถานที่คิวนาร์ด
อนุสาวรีย์เพื่อระลึกถึงสงครามจะอยู่ด้านตะวันตกของอาคาร เพื่อระลึกถึงพนักงานคิวนาร์ดที่ถูกฆ่าตายระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 ตั้งอยู่ด้านตะวันตกของอาคาร สร้างขึ้นประมาณปี 1920 ออกแบบโดย Authur Davis ที่ปรึกษาการก่อสร้างอาคาร จนปี 1921 เอิร์ลแห่งคาร์บีเอ็ดเวิร์ดสแตนลีย์ได้นำออกมาแสดง ก่อนที่จะถูกนำไปเก็บรักษาในหอศิลปะกรุงลอนดอน อนุสาวรีย์สร้างจากแผ่นสำริดขนาดใหญ่ และตั้งอยู่บนแท่นยกจากพื้น เนื่องจากสถาปนิกต้องการให้อนุสาวรีย์กลมกลืมไปกับการตกแต่งภายนอก การออกแบบจึงใช้ศิลปะแบบกรีก โดยเป็นรูปผู้ชายที่ยืนอยู่บนหัวเรือ และเพื่อให้ระลึกถึงพนักงานที่เสียชีวิตในสงครามโลกทั้ง 2 ครั้ง และมีการเขียนจารึกที่ด้านข้างว่า “Pro Patria” ซึ่งเป็นภาษาละติน แปลว่า เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของประเทศ
อ้างอิง
Notes
- . . 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-07. สืบค้นเมื่อ 2009-06-05.
- . Archive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-02. สืบค้นเมื่อ 2009-06-05.
- (PDF). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-03-26. สืบค้นเมื่อ 2009-06-15.
- . Liverpool World Heritage. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-28. สืบค้นเมื่อ 2009-06-13.
- . Liverpool Architectural Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-11-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-14.
- "Sailing on Saturday". . สืบค้นเมื่อ 2009-07-17.
- "Coast Walk Stage 4: Cunard Building". BBC Liverpool. 2005-07-21. สืบค้นเมื่อ 1 February 2008.
- Sharples (2004), p71
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อconstruction
- . องค์การอนุรักษ์แห่งอังกฤษ. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-23. สืบค้นเมื่อ 2009-07-06.
- McDonough, Tony (2008-11-05). . LDP Business. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-01. สืบค้นเมื่อ 2009-06-11.
- . Liverpool CDP. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-07. สืบค้นเมื่อ 2009-06-09.
- "Cunard Building purchase plan agreed by Liverpool Council". BBC. 2013-10-11. สืบค้นเมื่อ 2013-11-06.
- Hughes, Quentin (1999). Liverpool: City of Architecture. .
- . Liverpool World Heritage. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-28. สืบค้นเมื่อ 2009-06-09.
บรรณานุกรม
- Sharples, Joseph (2004). Pevsner Architectural Guides: Liverpool. . ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ อาคารคิวนาร์ด
- Liverpool World Heritage Site: Cunard Building 2008-08-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Flickr interior
- Images of England 2012-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xakharkhiwnard xngkvs Cunard Building epnsingkxsrangthiidrbkarprakasihepnxakharxnurkspraephth 2 aelaepn 1 in3 xakharthisakhykhxngemuxngliewxrphul shrachxanackr tngxyurimaemnaphunthihwmumiklkbtukliewxr aelathaeruxkhxngemuxng nxkcakniyngidrbrxngcakyuensokihepnmrdkolk phuxxkaebbxakharkhuxwileliym exdewird willingk William Edward Willink aelafilip okhldewll thikenss Philip Coldwell Thicknesse srangkhunrahwangpi 1914 1917 epnsthaptykrrmthiidrbxiththiphlcakphrarachwnginxitali epnsthaptykrrmaebbxitaliaelakrik thiennkartkaetngdannxkxakharihmikhwamhruhraxakharkhiwnardkhxmulthwippraephthOffice BuildingsthaptykrrmItalian Renaissance and sthaptykrrmfunfukrikthitngliewxrphul praethsxngkvsphuechainpccubnVariety of and sector firmserimsrang1914aelwesrc1917ecakhxngMerseyside Pension Fundkhxmulthangethkhnikhokhrngsrangkhxnkritesrimaerng with claddingkarxxkaebbaelakarkxsrangsthapnikWilliam Edward Willink and Philip Coldwell Thicknessephurbehmakxsrang pi 1960 bristhkhiwnardidsrangxakharnikhunephuxepnsthanithasahrbdaeninthurkickaredinthangcakliewxrphulipaextaelntik odytngxyutrngkhamxakharaexlebiyn sanknganihybristhiwtstariln pccubnxakharkhiwnardidkhayihaekbristhkxngthunemxrsiyisd aelaepidihekhachmidepnbangswnprawtisastryxnklbipemuxpi 1914 emuxbristhedineruxkhiwnardtxngkarsrangsanknganihyaehngihm ephuxrxngrbkarkhyaytwkhxngbristh aelatxngxyuinliewxrphul xakharidrbkarxxkaebbodywileliym exdewird willingk aelafilip okhldewll thikenss William Edward Willink and Philip Coldwell Thicknesse sungidrbaerngbndaliccakphrarachwngsmyfunfusilpwithyainxitali aelakhwbkhumkarkxsrangodybristhhxlaelnd hnenn aelakhiwbits chwngpi 1914 1917 swnthipruksaokhrngkarkxsrangidaek J Davis with Arthur J Davis of Mewes and Davis acting as consultant on the project pi 1934 bristhkhiwnardidkhwbrwmthurkickbbristhiwtstariln thaihklayepnbrisththidaeninthurkickhnsngesnthangaextaelntikthiihyepnxndbhnungkhxngolk aelaemuxngliewxrphulkidklayepnemuxngthathisakhyemuxnghnungxikdwy swnxakharkhiwnardhlngcakkhwbrwmkickaraelwyngkhngepnxakharsanknganihytxip ephuxichepnthithanganaephnkthurkar aelakhnsngsinkhathangeruxekhathangitxakharephraaxakhartngxyuimiklcakaemnaemxrsiy aelamikarxxkaebbchnlangkhxngxakhariheruxsamarthaelnekhamaid eruxhlaylaidrbkarxxkaebbintukkhiwnard sxnglaincanwnnnkhux xarexmexs khwinaemri RMS Queen Mary aelaxarexmexs khwinexlisaebth RMS Queen Elizabeth phayinxakharkhiwnardmikarsrangsingxanwykhwamsadwkephuxihbrikaraekphuodysarthiedinthangodyerux aelarthynt rwmthngephuxihbrikaraekphnkngandwyechnkn twxyangkhxngsingxanwykhwamsadwkthiihbrikar echn hxngphkphuodysarodyaeykaetlakhlas hxngsmud hxngfakkraepa dwyehtunicungthaihemuxngliewxrphulklayepnemuxngthahlkkhxngesnthangedineruxipyngaextaelntik aelachwngsngkhramolkkhrngthi 2 xakharidprbprungokhrngsrangihmikhwamthnthantxkarthukocmti aelachnittinidprbepnhlumhlbphykhxngprachachnthwipaelaphnkngankhxngbristh bristhkhiwnardyngkhngichxakharsanknganihyedim cnthungpi 1960 cungidtdsinicyayaephnkthurkaripxyuemuxngesaaethmptn Southampton emuxngthangitkhxngxngkvs aelayaysanknganihyipxyuniwyxrk aelapi 1969 idkhayxakharniihkbbristhphruednechil Prudential chwngpi 1965 xngkhkrxnurksaehngxngkvsidprakasihxakharepnxakharxnurkspraephth 2 phrxmkbxakharliewxraelathaeruxemuxngliewxrphul txmapi 2001 xakharidklayepnaemnchnsahrbphnknganbristhkxngthunemxrsiyisd aephnchnthimapracathiemuxngliewxrphul pccubnxakharidprbihepnphunthiihechasahrbsankngantang aelaaemnchnsahrbkhnthwip aelaphuecharayhnungidaekhnwyrachkarkhxngnxrthews pi 2008 eduxnphvscikayn idmiokhrngkarxnurksxakhar sungkahndodyxngkhkrxnurksaehngxngkvsaelaxngkhkrthxngthin ephuxkhwbkhumkarprbprung hruxepliynaeplngxakhartang The plan involved collaboration with English Heritage and the Local Authority Conservation Officer and would be used to control any modification and repairs made to the building pi 2013 eduxntulakhm sphaemuxngliewxrphulidrbkarxnumtiephuxsuxxakharkhiwnard ephuxichepnthixyuihkbphnknganpraman 1000 khn aelaepnthaerux sungcathaihprahydngbpramankarcaykhaechabanihphnknganidpraman 1 3 lanpxndrupaebbkarkxsrangxakharOne of the faces of the world representing the global nature of Cunard s operations rupaebbkarkxsrangxakharkhiwnardepnkarphsmrahwangsthaptykrrmsmyfunfusilpwithyaaebbxitali kbsthaptykrrmfunfukrik sungsthapnikwillingkaelaokhldewllidrbxiththiphlxyangmakcakbldssaer eprussi sthapnikchawxitali sungxiththiphlkhxngsilpanisamarthehnidthwipinorm twxyangechn phrarachwngfarenes aemwarupaebbcaennkhwamaekhngaerngaebbxitali aetsthapnikideluxktkaetngodyrxbtukdwysthaptykrrmaebbkrik thaihokhrngsrangtukduihykwaphrarachwngtnaebb aelamikhwamsngangamehmuxnxakharhxsilp Beaux thitngxyuinniwyxrk rupaebbxakharkhiwnardepnthrngsiehliymphunphatwxakharsung 6 chn aelamichnitdin 2 chn odysrangthihlngtukliewxr aelathaeruxkhxngliewxrphul dwykhxcakdkhxngphunthi thaihokhrngsrangxakhardanthistawnxxkkwangkwathistawntk 30 fut pratuthangekhaaetladanthacakaephnimoxkkhnadihyaelamiesakhnabkhangsungepnsilpaebbkrikaelayngkhngsamarthehnidinpccubnthichn 1 khxngxakhar The Cunard Building is adorned by several highly detailed sculptures including this one depicting a roaring lion raised on its hind legs twxakharsrangcakkhxnkritesrimehlk aelachabdwyhinphxrtaelnd aelatkaetngdwypunpnrxbtuk inthiniidmiruppnkhxngbriaethneniy enpcun echnediywkbethphaehngkhwamsngbsukh sngkhram khwamepliynaeplng rwmthngruppnsylksnrasi aelaplxkaekhnsylksnkhxngfayphnthmitrthiichinsngkhramolkkhrngthi 1 aela 2 aelaruppnsingsakhyxun rxbolk ephuxepnsylksnwathurkickhxngbristhidkracayipthwolk hinxxnidnamaichephuxputhangedinekhatukthangdanehnux aelait odynaekhacakxitaliaelakris karwangaephnsahrbichphunthixakharnnmihlakhlaywtthuprasngkh echninswnsanknganthitxngkarphunthimakaelaichifeyxasahrbthanganid cungexaiwinswnchnbnthimihnatangkhnadihy samarthepidihaesngaeddsxngekhamaid rwmthngmidwngifthitidtnghlaycud swnihbrikarphuodysarchn 1 idcdhxngrbrxngxyuthikhn 1 sahrbhxngphkphubrikar caxyuchn 5 ephuxehnthiwthsnaemnadanlang hnunginkhunsmbtithioddednthisudkhxngxakhar khuxmihxngitdinthngkhnadihyaelaelk odyepnthisahrbcdekbexksar aelakraepaedinthangkhxngphuodysar rwmthngthanhinkekbinswnniodymirangrthif ephuxkhnthanhinipyng boiler ephuxphlitkhwamrxnsahrbxakhar pccubnrupaebbedim aebbniyngkhngmixyuinxakhar aemkrathngchnwangsmpharathiepnim exksarkaredinerux pccubnhxngitdinniidprbepnhxngekbexksarkhxnglukkhabukhkhlsakhy ephuxepnhlkthanthangprawtisastr rwmthngphimphekhiywkhxngxakharkekbaesdnginswnnixnusrnsthanthikhiwnardThe Cunard War Memorial xnusawriyephuxralukthungsngkhramcaxyudantawntkkhxngxakhar ephuxralukthungphnkngankhiwnardthithukkhatayrahwangsngkhramolkkhrngthi 1 aela 2 tngxyudantawntkkhxngxakhar srangkhunpramanpi 1920 xxkaebbody Authur Davis thipruksakarkxsrangxakhar cnpi 1921 exirlaehngkharbiexdewirdsaetnliyidnaxxkmaaesdng kxnthicathuknaipekbrksainhxsilpakrunglxndxn xnusawriysrangcakaephnsaridkhnadihy aelatngxyubnaethnykcakphun enuxngcaksthapniktxngkarihxnusawriyklmklumipkbkartkaetngphaynxk karxxkaebbcungichsilpaaebbkrik odyepnrupphuchaythiyunxyubnhwerux aelaephuxihralukthungphnknganthiesiychiwitinsngkhramolkthng 2 khrng aelamikarekhiyncarukthidankhangwa Pro Patria sungepnphasalatin aeplwa ephuxepnswnhnungkhxngpraethsxangxingNotes 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 10 07 subkhnemux 2009 06 05 Archive khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 01 02 subkhnemux 2009 06 05 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2009 03 26 subkhnemux 2009 06 15 Liverpool World Heritage 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 28 subkhnemux 2009 06 13 Liverpool Architectural Society khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 11 06 subkhnemux 2009 06 14 Sailing on Saturday subkhnemux 2009 07 17 Coast Walk Stage 4 Cunard Building BBC Liverpool 2005 07 21 subkhnemux 1 February 2008 Sharples 2004 p71 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux construction xngkhkarxnurksaehngxngkvs 2007 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 10 23 subkhnemux 2009 07 06 McDonough Tony 2008 11 05 LDP Business khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 12 01 subkhnemux 2009 06 11 Liverpool CDP khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 10 07 subkhnemux 2009 06 09 Cunard Building purchase plan agreed by Liverpool Council BBC 2013 10 11 subkhnemux 2013 11 06 Hughes Quentin 1999 Liverpool City of Architecture Liverpool World Heritage khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 08 28 subkhnemux 2009 06 09 brrnanukrm Sharples Joseph 2004 Pevsner Architectural Guides Liverpool ISBN 0 300 10258 5 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb xakharkhiwnard Liverpool World Heritage Site Cunard Building 2008 08 28 thi ewyaebkaemchchin Flickr interior Images of England 2012 10 23 thi ewyaebkaemchchin 53 24 18 N 2 59 43 W 53 4051 N 2 9954 W 53 4051 2 9954