อวสานเซลส์แมน (อังกฤษ: Death of a Salesman) เป็นบทละคร ผลงานประพันธ์ของ เมื่อปี พ.ศ. 2492 และได้รางวัลพูลิตเซอร์ และรางวัลโทนี ในปีนั้น
อวสานเซลส์แมน | |
---|---|
ผู้ประพันธ์ | |
ชื่อเรื่องต้นฉบับ | Death of a Salesman |
ประเทศ | สหรัฐอเมริกา |
ภาษา | อังกฤษ |
ประเภท | โศกนาฏกรรม |
บทละครกล่าวถึงชีวิตของวิลลี่ โลแมน เซลส์แมนที่ต้องวิ่งหาลูกค้า เพื่อความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ยอมทำทุกอย่างแม้กระทั่งการโกหกพกลม แต่แล้วในที่สุดก็ต้องยอมพ่ายแพ้ต่อโชคชะตาด้วยความขมขื่น โลแมนกอบกู้ศักดิ์ศรีของตัวเองโดยการฆ่าตัวตาย เพื่อการยอมรับจากลูกเมียของตัวเอง
อวสานเซลส์แมน ได้รับการยกย่องว่าเป็นละครแห่งยุค มิลเลอร์สามารถสะท้อนสภาพสังคม และความฝันของคนอเมริกันชนได้อย่างถึงแก่น และเป็นผลงานชิ้นเอกของมิลเลอร์ ถูกนำมาแสดงเป็นละครเวที และภาพยนตร์หลายครั้ง
ในประเทศไทย
บทละครเรื่องนี้ ภาควิชาวรรณคดีและภาษาต่างประเทศ ชื่อปัจจุบันคือ ภาควิชาภาษาและวรรณคดีอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้นำมาแสดงละครเวทีสมัยใหม่ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2513 หอประชุมเล็กมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผลงานการแสดงละครเรื่องนี้ นับว่าเป็นการรื้อฟื้นและแนะนำการแสดงละครเวทีสมัยใหม่แบบสมจริงที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง การละคอนสมัยได้รับความสนใจแพร่หลายในวงกว้างขึ้นนอกเหนือจากรั้วมหาวิทยาลัย อีกทั้งทำให้มีการละครเวทีสมัยใหม่เรื่องอื่น ๆ ติดตามมา
ทีมงานและนักแสดงประกอบด้วยอาจารย์ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทั้งที่กำลังศึกษาอยู่และสำเร็จการศึกษาแล้ว (กลุ่มพระจันทร์เสี้ยว) ทั้งจากภาควิชานี้ และคณะอื่น ๆ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีอาจารย์มัทนี รัตนิน เป็นผู้อำนวยการสร้างและควบคุมการแสดง อาจารย์แกรี่ การ์คิน (Gary Carkin) เป็นผู้กำกับการแสดง ทั้งสองเป็นอาจารย์ภาควิชาวรรณคดีและภาษาต่างประเทศในขณะนั้น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งทรงเป็นพระอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ในสมัยนั้นได้เสด็จทอดพระเนตรการแสดงด้วย การแสดงละครเวทีเรื่องนี้ได้รับความสนใจและคำชมเชยอย่างกว้างขวาง หลังจากการแสดงรอบสุดท้ายสิ้นสุดลง ก็มีเสียงเรียกร้องให้กลับมาอีก จึงทำให้มีการจัดแสดงอีกครั้งในปีต่อมาคือ พ.ศ. 2514 การแสดงครั้งที่สองนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถได้แสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรอีกด้วย
ทีมงานและผู้แสดงส่วนหนึ่งได้ทำงานสานต่อด้านการละครสมัยใหม่ หรืองานที่เกี่ยวข้องในระยะต่อมา
ผู้รับบทส่วนหนึ่ง ได้แก่ เกริกเกียรติ พันธุ์พิพัฒน์ (วิลลี่ โลแมน) นฤมล เทพไชย (ลินดา โลแมน) คำรณ คุณะดิลก (บิฟ) วีรประวัติ วงศ์พัวพันธ์ (แฮปปี้) ยุทธนา มุกดาสนิท (เบอร์นาร์ด) เป็นต้น
เคยมีการนำบทละครเรื่องนี้มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ฉายทางช่อง 3 รับบทโดย พิศาล อัครเศรณี ศรัณยู วงษ์กระจ่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง สุเชาว์ พงษ์วิไล ดนตรีประกอบโดย ศิริศักดิ์ นันทเสน (ติ๊ก ชิโร่)
รางวัลที่ได้รับ
- 1949 New York Drama Critics' Circle Best Play
- 1949 Pulitzer Prize for Drama
- 1949 Tony Award for Best Play
- 1984 Drama Desk Award Outstanding Revival
- 1984 Tony Award for Best Reproduction
- 1999 Tony Award for Best Revival of a Play
- 1999 Drama Desk Award Outstanding Revival of a Play
แหล่งข้อมูลอื่น
- อวสานเซลส์แมน ที่ ibdb
- อวสานของเซลส์แมน/ต่อพงษ์ 2007-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xwsaneslsaemn xngkvs Death of a Salesman epnbthlakhr phlnganpraphnthkhxng emuxpi ph s 2492 aelaidrangwlphulitesxr aelarangwlothni inpinnxwsaneslsaemn phupraphnthchuxeruxngtnchbbDeath of a Salesmanpraethsshrthxemrikaphasaxngkvspraephthosknatkrrm bthlakhrklawthungchiwitkhxngwilli olaemn eslsaemnthitxngwinghalukkha ephuxkhwamkawhnainhnathikarngan yxmthathukxyangaemkrathngkarokhkphklm aetaelwinthisudktxngyxmphayaephtxochkhchatadwykhwamkhmkhun olaemnkxbkuskdisrikhxngtwexngodykarkhatwtay ephuxkaryxmrbcaklukemiykhxngtwexng xwsaneslsaemn idrbkarykyxngwaepnlakhraehngyukh milelxrsamarthsathxnsphaphsngkhm aelakhwamfnkhxngkhnxemriknchnidxyangthungaekn aelaepnphlnganchinexkkhxngmilelxr thuknamaaesdngepnlakhrewthi aelaphaphyntrhlaykhrnginpraethsithybthlakhreruxngni phakhwichawrrnkhdiaelaphasatangpraeths chuxpccubnkhux phakhwichaphasaaelawrrnkhdixngkvs khnasilpsastr mhawithyalythrrmsastridnamaaesdnglakhrewthismyihmkhrngaerkemux ph s 2513 hxprachumelkmhawithyalythrrmsastr phlngankaraesdnglakhreruxngni nbwaepnkarruxfunaelaaenanakaraesdnglakhrewthismyihmaebbsmcringthiprasbkhwamsaercxyangsung karlakhxnsmyidrbkhwamsnicaephrhlayinwngkwangkhunnxkehnuxcakrwmhawithyaly xikthngthaihmikarlakhrewthismyihmeruxngxun tidtamma thimnganaelankaesdngprakxbdwyxacary nksuksamhawithyalythrrmsastrthngthikalngsuksaxyuaelasaerckarsuksaaelw klumphracnthresiyw thngcakphakhwichani aelakhnaxun cakmhawithyalythrrmsastr odymixacarymthni rtnin epnphuxanwykarsrangaelakhwbkhumkaraesdng xacaryaekri karkhin Gary Carkin epnphukakbkaraesdng thngsxngepnxacaryphakhwichawrrnkhdiaelaphasatangpraethsinkhnann smedcphraecaphinangethx ecafaklyaniwthna krmhlwngnrathiwasrachnkhrinthr sungthrngepnphraxacarykhnasilpsastrinsmynnidesdcthxdphraentrkaraesdngdwy karaesdnglakhrewthieruxngniidrbkhwamsnicaelakhachmechyxyangkwangkhwang hlngcakkaraesdngrxbsudthaysinsudlng kmiesiyngeriykrxngihklbmaxik cungthaihmikarcdaesdngxikkhrnginpitxmakhux ph s 2514 karaesdngkhrngthisxngni phrabathsmedcphraecaxyuhwaelasmedcphranangecaphrabrmrachininathidaesdcphrarachdaeninipthxdphraentrxikdwy thimnganaelaphuaesdngswnhnungidthangansantxdankarlakhrsmyihm hruxnganthiekiywkhxnginrayatxma phurbbthswnhnung idaek ekrikekiyrti phnthuphiphthn willi olaemn nvml ethphichy linda olaemn kharn khunadilk bif wirprawti wngsphwphnth aehppi yuththna mukdasnith ebxrnard epntn ekhymikarnabthlakhreruxngnimasrangepnlakhrothrthsn chaythangchxng 3 rbbthody phisal xkhresrni srnyu wngskracang phngsphthn wchirbrrcng suechaw phngswiil dntriprakxbody siriskdi nnthesn tik chior rangwlthiidrb1949 New York Drama Critics Circle Best Play 1949 Pulitzer Prize for Drama 1949 Tony Award for Best Play 1984 Drama Desk Award Outstanding Revival 1984 Tony Award for Best Reproduction 1999 Tony Award for Best Revival of a Play 1999 Drama Desk Award Outstanding Revival of a Playaehlngkhxmulxunxwsaneslsaemn thi ibdb xwsankhxngeslsaemn txphngs 2007 03 12 thi ewyaebkaemchchin