ศาสตราจารย์ อมเรศ ภูมิรัตน (24 กรกฎาคม 2491 - ปัจจุบัน) เกิดที่อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์และกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักวิจัยไทยที่มีผลงานดีเด่นในสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ เชี่ยวชาญด้านการสอน การวิจัย รวมทั้งการประยุกต์และถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคอุตสาหกรรม มาตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อปี พ.ศ. 2532 และเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในวงการเทคโนโลยีชีวภาพระดับประเทศ โดยริเริ่มให้มีการรวมตัวของนักวิชาการด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ทำให้มีการก่อตั้ง ชมรมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 และเป็นประธานคนแรกของชมรมนี้ ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์ดร. อมเรศ ภูมิรัตน เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 5 คน ของศาสตราจารย์อมร ภูมิรัตน และคุณหญิงระเบียบ ภูมิรัตน สมรสกับนางนิตยาภรณ์ (สุมาวงศ์) มีธิดา 1 คน คือ พ.ญ. นภัทร ภูมิรัตน
ดร.อมเรศ ภูมิรัตน | |
---|---|
เกิด | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร |
สัญชาติ | ไทย |
มีชื่อเสียงจาก | นักวิจัยไทย |
การศึกษา
- พ.ศ. 2497 - 2500 - ประถมศึกษา โรงเรียนปวโรฬารวิทยา กรุงเทพมหานคร
- พ.ศ. 2501 - 2506 - มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมสาธิต มศว. ประสานมิตร กรุงเทพมหานคร
- พ.ศ. 2507 - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร
- พ.ศ. 2507 - 2509 - โรงเรียนมัธยมแห่งเมืองเชาว์ซิวล่า รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
- พ.ศ. 2509 - 2513 - ปริญญาตรี (เกียรตินิยม) สาขาแบคทีเรียวิทยา มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา
- พ.ศ. 2513 - 2517 - ปริญญาเอก สาขาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต รัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา
การทำงาน
- พ.ศ. 2517 - 2533 - สังกัดภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (เริ่มเข้ารับราชการ เมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2517)
- พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน - สังกัดภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำแหน่งวิชาการ
- พ.ศ. 2517 - อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2519 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2524 - รองศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2533 - ศาสตราจารย์ สาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2540 - ศาสตราจารย์อาคันตุกะ มหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
- พ.ศ. 2544 - ปัจจุบัน - ศาสตราจารย์ ระดับ 11 สาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549 - ปัจจุบัน - ดำรงตำแหน่ง Collaborative Professor ของมหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
ตำแหน่งบริหาร
- พ.ศ. 2532 - รักษาการหัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2532 - 2534 - ผู้อำนวยการโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2533 - 2537 - นายกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2534 - 2538 - รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2538 - 2540 - รองคณบดี ฝ่ายกิจกรรมทั้งหมดศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2542 - 2544 - ประธาน ที่ประชุมคณบดีคณะวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2542 - 2546 - คณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2542 - 2546 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2543 - 2545 - กรรมการสภา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
- พ.ศ. 2546 - 2547 - รักษาการผู้อำนวยการ สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2546 - 2547 - รองอธิการบดีและรองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2547 - 2550 - ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นสมัยที่ 2
- พ.ศ. 2547 - ปัจจุบัน - ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์ประยุกต์และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อีกหนึ่งตำแหน่ง
ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ
- - สมาชิกสมาคม Sigma XI
- - สมาชิกสมาคม American Society for Microbiology
- - สมาชิกสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
- - สมาชิกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
- - ภาคีสมาชิก ราชบัณฑิตยสถาน สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
- - บรรณาธิการวารสารเทคโนโลยีชีวภาพ (Thai Journal of Biotechnology)
- - คณะบรรณาธิการ (Editorial Board) ของ ASEAN Food Journal
- - คณะบรรณาธิการ (Editorial Board) ของ Journal of Fermentation and Bioengineering
- - คณะบรรณาธิการ (Editorial Board) ของ Journal of Microbiology and Biotechnology
- - WHO Short-term temporary consultant
- - คณะอนุกรรมการโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างไทย-ญี่ปุ่น สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- - ที่ปรึกษารับเชิญของ International Foundation for Science
- - สมาชิก SAC-Food Science International Foundation for Science
- - ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (2549-2551)
เกียรติคุณและรางวัล
- พ.ศ. 2530 - รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยได้รับรางวัลดีเยี่ยม จากผลงานวิจัยเรื่อง "การปรับปรุงกรรมวิธีการผลิตซีอิ๊ว"
- พ.ศ. 2534 - รางวัลของมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2534 สาขาทั่วไป จากมหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2535 - รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ประจำปี 2535 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
- พ.ศ. 2540 - ทุนวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ประจำปีพ.ศ. 2540 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ผลงานด้านการวิจัย
ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน และคณะ ได้ทำงานวิจัยทางด้านจุลชีววิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีการอาหารอย่างต่อเนื่อง โดยมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จำนวนกว่า 70 เรื่อง ผลงานวิจัยโดยสรุปมีดังนี้
- งานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากแบคทีเรีย ได้แก่ การศึกษาแบคทีเรียที่มีฤทธิ์ฆ่าแมลง โดยเฉพาะสายพันธุ์ซึ่งฆ่าหนอนแมลงศัตรูพืช และสายพันธุ์ซึ่งสามารถฆ่าแมลงพาหะนำโรค อาทิ Bacillus thuringiensis ศึกษาคุณสมบัติของผลึกสารพิษ ความสามารถที่แบคทีเรียจะยังคงฤทธิ์อยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ การผลิตแบคทีเรียเหล่านี้ในระดับอุตสาหกรรม และพัฒนาให้มีศักยภาพในเชิงพาณิชย์ การถ่ายทอดยีนสารพิษระหว่างแบคทีเรียเหล่านี้ ทั้งในระหว่างสายพันธุ์เดียวกันและสายพันธุ์ต่างกัน ทำให้สามารถสร้างแบคทีเรียสายพันธุ์ใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ศึกษาขบวนการควบคุมการแสดงออกของยีนโดยใช้เทคนิคทางด้านพันธุวิศวกรรม เพื่อนำไปพัฒนาสายพันธุ์แบคทีเรียที่เหมาะสมต่อไปได้ในอนาคต
- งานวิจัยด้านการใช้ประโยชน์จากเชื้อรา ที่สำคัญได้แก่ การแยกวิเคราะห์เชื้อราต่างๆ จากหัวเชื้อซีอิ้วในประเทศไทย และการผลิตเอนไซม์ต่างๆ จากเชื้อรา การถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิตอาหารหมักจากถั่วเหลือง ไปยังอุตสาหกรรมขนาดย่อม โดยขบวนการฝึกอบรมและการบริการทางเทคนิคอื่นๆ การผลิตเอ็นไซม์กลูโคอะมัยเลสในระดับอุตสาหกรรม การใช้เชื้อรา Nomuraea rileyi เพื่อควบคุมหนอนแมลงศัตรูพืช ในกลุ่ม Lepidoptera ซึ่งเป็นหนอนที่ทำลายพืชเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก ทั้งพืชผัก ผลไม้และพืชเศรษฐกิจอื่นๆ หนอนกลุ่มนี้ได้แก่ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม และหนอนเจาะสมอฝ้าย โดยได้พัฒนางานวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคเอกชน เพื่อที่จะนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปต่อไป
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2544 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2539 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2557 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) สาขาวิทยาศาสตร์
- พ.ศ. 2542 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย 2017-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๔, ๔ ธันวาคม ๒๕๔๔
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ 2014-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๒๒ ข หน้า ๑๖, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี ๒๕๕๗ 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๑๐ ข หน้า ๓, ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๘
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๔๑๐, ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
แหล่งข้อมูลอื่น
- รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี 2535 : ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน. [กรุงเทพฯ] : มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2535. []
- เมธีวิจัยอาวุโส สกว. 2540. TRF Senior Research Scholar 1997. [กรุงเทพฯ] : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2540.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracary xmers phumirtn 24 krkdakhm 2491 pccubn ekidthixaephxphraokhnng cnghwdphrankhr epnkrrmkarphuthrngkhunwuthiinkhnakrrmkarbriharsunykhwamepnelisdanchiwwithyasastraelakrrmkarsphamhawithyalyekstrsastr nkwicyithythimiphlngandiedninsakhaethkhonolyichiwphaph echiywchaydankarsxn karwicy rwmthngkarprayuktaelathaythxdethkhonolyiipsuphakhxutsahkrrm matlxdrayaewlakwa 30 pi epnphukxtngphakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidl emuxpi ph s 2532 aelaepnphumibthbathsakhyinwngkarethkhonolyichiwphaphradbpraeths odyrierimihmikarrwmtwkhxngnkwichakardanethkhonolyichiwphaph thaihmikarkxtng chmrmethkhonolyichiwphaphaehngpraethsithy khunemuxpi ph s 2533 aelaepnprathankhnaerkkhxngchmrmni sungtxmaidphthnamaepnsmakhmethkhonolyichiwphaphaehngpraethsithy sastracarydr xmers phumirtn epnbutrkhnthi 3 incanwn 5 khn khxngsastracaryxmr phumirtn aelakhunhyingraebiyb phumirtn smrskbnangnityaphrn sumawngs mithida 1 khn khux ph y nphthr phumirtnsastracary dr xmers phumirtn m p ch m w m ekid24 krkdakhm ph s 2491 75 pi xaephxphraokhnng cnghwdphrankhrsychatiithymichuxesiyngcaknkwicyithykarsuksaph s 2497 2500 prathmsuksa orngeriynpworlarwithya krungethphmhankhr ph s 2501 2506 mthymsuksa orngeriynmthymsathit msw prasanmitr krungethphmhankhr ph s 2507 orngeriynetriymxudmsuksa krungethphmhankhr ph s 2507 2509 orngeriynmthymaehngemuxngechawsiwla rthaekhlifxreniy praethsshrthxemrika ph s 2509 2513 priyyatri ekiyrtiniym sakhaaebkhthieriywithya mhawithyalyaekhlifxreniy edwis rthaekhlifxreniy praethsshrthxemrika ph s 2513 2517 priyyaexk sakhaculchiwwithya mhawithyalymichiaeknsett rthmichiaekn praethsshrthxemrikakarthanganph s 2517 2533 sngkdphakhwichaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl erimekharbrachkar emuxwnthi 2 m kh 2517 ph s 2533 pccubn sngkdphakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidltaaehnngwichakar ph s 2517 xacarypracaphakhwichaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2519 phuchwysastracary sakhaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2524 rxngsastracary sakhaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2533 sastracary sakhaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2540 sastracaryxakhntuka mhawithyalyoxsaka praethsyipun ph s 2544 pccubn sastracary radb 11 sakhaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2549 pccubn darngtaaehnng Collaborative Professor khxngmhawithyalyoxsaka praethsyipuntaaehnngbrihar ph s 2532 rksakarhwhnaphakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2532 2534 phuxanwykarokhrngkarwicyaelaphthnaethkhonolyichiwphaph sthabnwicyaelaphthnawithyasastraelaethkhonolyi mhawithyalymhidl ph s 2533 2537 nayksmakhmethkhonolyichiwphaphaehngpraethsithy ph s 2534 2538 rxngkhnbdi faywichakar khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2538 2540 rxngkhnbdi faykickrrmthnghmdsalaya mhawithyalymhidl ph s 2542 2544 prathan thiprachumkhnbdikhnawithyasastraehngpraethsithy ph s 2542 2546 khnbdi khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2542 2546 krrmkarspha mhawithyalymhidl ph s 2543 2545 krrmkarspha mhawithyalyaemfahlwng ph s 2546 2547 rksakarphuxanwykar sthabnxnuchiwwithyaaelaphnthusastr mhawithyalymhidl ph s 2546 2547 rxngxthikarbdiaelarxngxthikarbdifayphthnawichakaraelawichachiph mhawithyalymhidl ph s 2547 2550 darngtaaehnngkhnbdi khnawithyasastr mhawithyalymhidl epnsmythi 2 ph s 2547 pccubn darngtaaehnngphuxanwykarsunyprayuktaelabrikarwichakar mhawithyalymhidl xikhnungtaaehnngtaaehnnginsmakhmaelaxngkhkrtang smachiksmakhm Sigma XI smachiksmakhm American Society for Microbiology smachiksmakhmethkhonolyichiwphaphaehngpraethsithy smachiksmakhmwithyasastraehngpraethsithyinphrabrmrachupthmph phakhismachik rachbnthitysthan sakhawichaethkhonolyichiwphaph brrnathikarwarsarethkhonolyichiwphaph Thai Journal of Biotechnology khnabrrnathikar Editorial Board khxng ASEAN Food Journal khnabrrnathikar Editorial Board khxng Journal of Fermentation and Bioengineering khnabrrnathikar Editorial Board khxng Journal of Microbiology and Biotechnology WHO Short term temporary consultant khnaxnukrrmkarokhrngkarkhwamrwmmuxthangwichakarrahwangithy yipun sakhaethkhonolyichiwphaph khxng sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati thipruksarbechiykhxng International Foundation for Science smachik SAC Food Science International Foundation for Science thipruksarthmntriwakarkrathrwngwithyasastr aelaethkhonolyi 2549 2551 ekiyrtikhunaelarangwlph s 2530 rangwlsphawicyaehngchati cak sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati odyidrbrangwldieyiym cakphlnganwicyeruxng karprbprungkrrmwithikarphlitsixiw ph s 2534 rangwlkhxngmhawithyalymhidl pracapi 2534 sakhathwip cakmhawithyalymhidl ph s 2535 rangwlnkwithyasastrdiednsakhaethkhonolyichiwphaph pracapi 2535 cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiinphrabrmrachupthmph ph s 2540 thunwicyemthiwicyxawuos skw pracapiph s 2540 caksankngankxngthunsnbsnunkarwicyphlngandankarwicysastracary dr xmers phumirtn aelakhna idthanganwicythangdanculchiwwithya ethkhonolyichiwphaph aelaethkhonolyikarxaharxyangtxenuxng odymiphlnganwicythitiphimphinwarsarwichakarradbnanachati canwnkwa 70 eruxng phlnganwicyodysrupmidngni nganwicydankarichpraoychncakaebkhthieriy idaek karsuksaaebkhthieriythimivththikhaaemlng odyechphaasayphnthusungkhahnxnaemlngstruphuch aelasayphnthusungsamarthkhaaemlngphahanaorkh xathi Bacillus thuringiensis suksakhunsmbtikhxngphluksarphis khwamsamarththiaebkhthieriycayngkhngvththixyuidinsingaewdlxmtang karphlitaebkhthieriyehlaniinradbxutsahkrrm aelaphthnaihmiskyphaphinechingphanichy karthaythxdyinsarphisrahwangaebkhthieriyehlani thnginrahwangsayphnthuediywknaelasayphnthutangkn thaihsamarthsrangaebkhthieriysayphnthuihmthimiprasiththiphaphmakyingkhun suksakhbwnkarkhwbkhumkaraesdngxxkkhxngyinodyichethkhnikhthangdanphnthuwiswkrrm ephuxnaipphthnasayphnthuaebkhthieriythiehmaasmtxipidinxnakht nganwicydankarichpraoychncakechuxra thisakhyidaek karaeykwiekhraahechuxratang cakhwechuxsixiwinpraethsithy aelakarphlitexnismtang cakechuxra karthaythxdethkhonolyiinkarphlitxaharhmkcakthwehluxng ipyngxutsahkrrmkhnadyxm odykhbwnkarfukxbrmaelakarbrikarthangethkhnikhxun karphlitexnismkluokhxamyelsinradbxutsahkrrm karichechuxra Nomuraea rileyi ephuxkhwbkhumhnxnaemlngstruphuch inklum Lepidoptera sungepnhnxnthithalayphuchesrsthkickhxngpraethsithyepnxyangmak thngphuchphk phlimaelaphuchesrsthkicxun hnxnklumniidaek hnxnkrathuphk hnxnkrathuhxm aelahnxnecaasmxfay odyidphthnanganwicyaelathaythxdethkhonolyiipsuphakhexkchn ephuxthicanaipphthnaepnphlitphnthsaercruptxipekhruxngrachxisriyaphrnph s 2544 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2539 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2557 ehriyydusdimala ekhmsilpwithya r d m s sakhawithyasastr ph s 2542 ehriyyckrphrrdimala r c ph xangxingkrrmkarphuthrngkhunwuthiinkhnakrrmkarbriharsunykhwamepnelisdanchiwwithyasastr rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy 2017 12 01 thi ewyaebkaemchchin elm 118 txnthi 22 kh hna 4 4 thnwakhm 2544 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrn 2014 04 13 thi ewyaebkaemchchin elm 113 txnthi 22 kh hna 16 4 thnwakhm 2539 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyydusdimala ekhmsilpwithya pracapi 2557 2016 03 04 thi ewyaebkaemchchin elm 132 txnthi 10 kh hna 3 24 minakhm 2558 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyyckrmalaaelaehriyyckrphrrdimala elm 117 txnthi 4 kh hna 410 22 kumphaphnth 2543aehlngkhxmulxunrangwlnkwithyasastrdiednpracapi 2535 sastracary dr xmers phumirtn krungethph mulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi inphrabrmrachupthmph 2535 ISBN 974 7576 65 1 emthiwicyxawuos skw 2540 TRF Senior Research Scholar 1997 krungethph sankngankxngthunsnbsnunkarwicy 2540