ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย อาจารย์ประจำและหัวหน้าภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี พ.ศ. 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี พ.ศ. 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.
อภิวัฒน์ มุทิรางกูร | |
---|---|
เกิด | 1 มีนาคม พ.ศ. 2507 |
สัญชาติ | ไทย |
ประวัติ
นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร หรือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2507 เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 3 คน ของ พันตำรวจเอกนายแพทย์ กรณ์กิจ และ นางรัชนี มุทิรางกูร ศาสตราจารย์อภิวัฒน์ มุทิรางกูร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านอณูพันธุศาสตร์ มีผลงานวิจัยดีเด่นทางด้านการศึกษาการอณูพันธุศาสตร์โรคมะเร็งโพรงหลังจมูก และสภาวะเหนือพันธุกรรม (Epigenetic) ที่เป็นกลไกสำคัญในการเกิดโรคในมนุษย์ ได้แก่ มะเร็ง โรค autoimmune และโรคชรา ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2549 และนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อปี พ.ศ. 2551 สมรสกับ แพทย์หญิง ลินดา (ชวโรจน์) มุทิรางกูร มีบุตรชาย 3 คน คือ นาย กรณ์ นาย วัฒนกิจ และ ด.ช. ธรรม มุทิรางกูร
การศึกษา
- พ.ศ. 2520–2523 ระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย
- พ.ศ. 2524–2530 ระดับปริญญาตรี แพทยศาสตรบัณฑิต จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- พ.ศ. 2533–2536 ระดับปริญญาเอก (Ph.D.) Human and Molecular Genetics, Baylor College of Medicine, Houston, Texas, U.S.A.
ผลงาน
ผลงานของศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ มีผลงานวิจัยจำนวนมาก ที่สำคัญคือ
1) การค้นพบดีเอ็นเอของไวรัสไวรัสเอพสไตน์บาร์ (Epstein Barr virus, EBV) ในน้ำเหลืองของผู้ป่วยมะเร็งโพรงหลังจมูก (1) ในปัจจุบันใช้การวัดปริมาณ EBV DNA ในน้ำเหลืองเพื่อติดตามผลการรักษาผู้ป่วยมะเร็งโพรงหลังจมูก
2) ศึกษาสภาวะเหนือพันธุกรรมของสายดีเอ็นเอเบสซ้ำเพื่อควบคุมการทำงานของยีนและปกป้องจีโนมของเซลล์ (2-8) ทำให้เกิดแนวทางใหม่ในการป้องกัน ตรวจกรองวินิจฉัยและรักษา มะเร็งและความชราในอนาคต
3) ศึกษาสภาวะเหนือพันธุกรรมของยีนที่จำเพราะกับชนิดเนื้อเยื่อหรือชนิดการติดเชื้อไวรัส (9-13) ทำให้เกิดแนวทางใหม่ในการตรวจกรองและวินิจฉัยมะเร็งในอนาคต
4) ค้นพบรอยฉีกขาดของดีเอ็นเอที่ดี (14-17) ที่อาจมีประโยชน์ป้องกันความไม่เสถียรของจีโนม ความชราและมะเร็ง น่าจะทำให้เกิดแนวทางใหม่ในการป้องกันการเกิดมะเร็งและความชราในอนาคต
ในปี ปี พ.ศ. 2551 คณะผู้วิจัยได้รายงาน การค้นพบ ดีเอ็นเอของเชื้อไวรัสเอพสไตน์บาร์ (Epstein Barr virus, EBV) หรือ EBVDNA ในน้ำเหลืองของผู้ป่วยมะเร็งโพรงหลังจมูก การค้นพบนี้ทำให้เกิดการพัฒนาการตรวจติดตามผลการรักษา โดยที่ EBVDNA จะหายหมดไปหากไม่มีเนื้อมะเร็งโพรงหลังจมูกหลงเหลือ และหากพบมี EBVDNA ในน้ำเหลืองแสดงว่ามีการกลับเป็นซ้ำเกิดขึ้น ในปัจจุบัน แต่ละปีมีผู้ป่วยมะเร็งโพรงหลังจมูกประมาณ ๖ แสนคนทั่วโลก ได้ประโยชน์จากการตรวจหา EBVDNA ในน้ำเหลือง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 คณะผู้วิจัยเริ่มรายงานค้นพบการเปลื่ยนแปลงสภาวะเหนือพันธุกรรมของสายดีเอ็นเอเบสซ้ำในเซลล์มะเร็ง ในผู้ชรา และในโรคอื่นๆ เช่น กระดูกผุ โรค SLE หรือรู้จักกันในชื่อโรคพุ่มพวง การศึกษาต่อเนื่องทำให้รู้กลไกและบทบาทที่ส่งผลต่อการเกิดพยาธิสภาพของโรค ทั้งจาก ความไม่เสถียรของจีโนมและการแสดงออกของยีนที่เปลี่ยนไป ในปัจจุบันคณะผู้วิจัย กำลังศึกษาวิธีการที่จะนำความรู้เกี่ยวกับ สภาวะเหนือพันธุกรรมของสายดีเอ็นเอเบสซ้ำ มาพัฒนาเป็นยารักษามะเร็ง ป้องกันความพิการจากความชรา และการตรวจกรองมะเร็งที่พบบ่อย
นอกจากนี้คณะผู้วิจัยยังเป็นผู้ค้นพบสภาวะเหนือพันธุกรรมของยีนที่จำเพราะกับชนิดเนื้อเยื่อหรือชนิดการติดเชื้อไวรัส และกำลังกำลังศึกษาวิธีการที่จะนำความรู้นี้ไปใช้วินิจฉัยและการตรวจกรองมะเร็งในอนาคต
ในปี พ.ศ. 2547 คณะผู้วิจัยรายงานการค้นพบรอยฉีกขาดของดีเอ็นเอที่ไม่เคยถูกค้นพบมาก่อน รอยฉีกขาดของดีเอ็นเอที่รู้จักกันจะทำให้เซลล์ตายหรือกลายพันธุ์ แต่รอยฉีกขาดที่ค้นพบกลับน่าจะมีประโยชน์ต่อเซลล์ทำให้จีโนมเสถียร ไม่แก่และไม่เป็นมะเร็ง ดังนั้นการเข้าใจกลไกการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุลที่รอยฉีกขาดนี้อาจนำไปสู่การป้องกันการแก่และมะเร็งในอนาคต
และผลงานวิจัยที่มีชื่อเสียงที่สุดคือการค้นพบกลไกต้นน้ำของความชราบริเวณรอยแยก (youth-DNA-gap) ตรงจุดที่มีดีเอ็นเอแมดทิเลชัน (DNA methylation) และเป็นที่มาของการพัฒนา โมเลกุลมณีแดง หรือ RED-GEMs (REjuvenating DNA by GEnomic Stability Molecules) ซึ่งมีบทบาทในการช่วยปกป้องดีเอ็นเอและป้องกันความแก่ชราในดีเอ็นเอ โดยเมื่อมนุษย์อายุมากขึ้น รอยแยกดีเอ็นเอจะลดลง ทำให้เกิดแรงตึงทั่วสายของดีเอ็นเอ ดีเอ็นเอไม่สามารถหมุนตัวได้อย่างปกติ และถูกทำลายได้ง่าย จึงพบรอยโรคในดีเอ็นเอของเซลล์ที่แก่ชราแล้วเยอะขึ้น ซึ่งรอยโรคดีเอ็นเอนี้จะส่งสัญญาณให้เซลล์หยุดการแบ่งตัวตามปกติและเข้าสู่ความแก่ชรา รวมถึงอาจนำไปสู่การกลายพันธุ์และมะเร็งได้ โมเลกุลมณีแดงคือยีนที่มีหน้าที่เป็นกรรไกรเพื่อสร้างรอยแยกดีเอ็นเอ เซลล์ที่ได้รับมณีแดงจะมีดีเอ็นเอที่แข็งแรงขึ้น และทำให้เซลล์ที่เสื่อมลงแล้วกลับมาดีขึ้น
ประวัติการทำงาน
- พ.ศ. 2530–ปัจจุบัน อาจารย์ประจำหน่วยมนุษยพันธุศาสตร์ ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน ผู้อำนวยการหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สหสาขาวิชาชีวเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตำแหน่งทางวิชาการ
- พ.ศ. 2530–2539 อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2540–2541 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2541–2547 รองศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2547–2551 ศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2551–ปัจจุบัน ศาสตราจารย์ ระดับ11/A-1 คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกียรติคุณ
- พ.ศ. 2539 รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
- พ.ศ. 2542 รางวัลผลงานเกียรติยศ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำหรับผลงานวิจัยของ สกว. ที่มี impact factor สูงสุด
- พ.ศ. 2542 รางวัลผลงานเกียรติยศ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำหรับผลงานวิจัยของ สกว. ที่ได้รับการอ้างอิง สูงสุด
- พ.ศ. 2543 Eminent Scientist & IRPC International Award Winner
- พ.ศ. 2543 The Takeo Wada Outstanding Cancer Researcher
- พ.ศ. 2548 รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเยี่ยม สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เรื่อง “อณูพันธุศาสตร์ของมะเร็งโพรงหลังจมูก”
- พ.ศ. 2548 เมธีวิจัยอาวุโส สกว. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
- พ.ศ. 2549 ผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิงสูงสุด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2549 นักวิจัยดีเด่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2549 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
- พ.ศ. 2551 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
หน้าที่และกิจกรรมในองค์กรต่าง ๆ
- พ.ศ. 2538–ปัจจุบัน สมาชิกและกรรมการสมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย[1] 2009-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- พ.ศ. 2543–ปัจจุบัน กรรมการในอนุกรรมการฝ่ายวิชาการ มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล[2]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2556 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2553 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2550 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์ (จ.ภ.)
- พ.ศ. 2561 – เหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ)) สาขาแพทยศาสตร์
อ้างอิง
- ศ.ดร.นพ.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร
- “อภิวัฒน์ มุทิรางกูร” แพทย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นค้นพบกลไกก่อ “มะเร็ง”
- จุฬาฯ – ปตท. – อินโนบิก จับมือเตรียมผลิตนวัตกรรม ‘มณีแดง’ ต้านเซลล์ชรา
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๓๐ ข หน้า ๕, ๖ ธันวาคม ๒๕๕๖
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๓, เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๑๔ ข หน้า ๑๘, ๘ ธันวาคม ๒๕๕๓
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์, เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๑๒๑, ๗ มกราคม ๒๕๕๑
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี ๒๕๖๑, เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๑ ข หน้า ๕, ๒๘ มกราคม ๒๕๖๒
เอกสารเพิ่มเติม
- Molecular genetics of cancer: a brief history and my discoveriesLink[]
- เศรษฐกิจพอเพียงและการวิจัย“เพื่อสร้างองค์ความรู้”Link[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracary nayaephthy xphiwthn muthirangkur epnnkwithyasastrchawithy xacarypracaaelahwhnaphakhwichakaywiphakhsastr khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyalynkwicydiednaehngchati sakhawithyasastrkaraephthy pracapi ph s 2549 nkwithyasastrdiednkhxngithy pracapi ph s 2551 aelaemthiwicyxawuos skw sastracary nayaephthy xphiwthn muthirangkur m p ch m w m c ph ekid1 minakhm ph s 2507 60 pi sychatiithyprawtinayaephthy xphiwthn muthirangkur hrux sastracary nayaephthy dr xphiwthn muthirangkur ekidemuxwnthi 1 minakhm ph s 2507 epnbutrkhnthi 3 incanwn 3 khn khxng phntarwcexknayaephthy krnkic aela nangrchni muthirangkur sastracaryxphiwthn muthirangkur epnnkwithyasastrchawithy phuechiywchaydanxnuphnthusastr miphlnganwicydiednthangdankarsuksakarxnuphnthusastrorkhmaerngophrnghlngcmuk aelasphawaehnuxphnthukrrm Epigenetic thiepnkliksakhyinkarekidorkhinmnusy idaek maerng orkh autoimmune aelaorkhchra idrbrangwlnkwicydiednaehngchati emuxpi ph s 2549 aelankwithyasastrdiednkhxngithy cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi inphrabrmrachupthmph emuxpi ph s 2551 smrskb aephthyhying linda chworcn muthirangkur mibutrchay 3 khn khux nay krn nay wthnkic aela d ch thrrm muthirangkurkarsuksaph s 2520 2523 radbmthymsuksa cakorngeriynswnkuhlabwithyaly ph s 2524 2530 radbpriyyatri aephthysastrbnthit cakkhnaaephthysastr mhawithyalyechiyngihm ph s 2533 2536 radbpriyyaexk Ph D Human and Molecular Genetics Baylor College of Medicine Houston Texas U S A phlnganphlngankhxngsastracary nayaephthy dr xphiwthn muthirangkur sastracary nayaephthy dr xphiwthn muthirangkur phakhwichakaywiphakhsastr miphlnganwicycanwnmak thisakhykhux 1 karkhnphbdiexnexkhxngiwrsiwrsexphsitnbar Epstein Barr virus EBV innaehluxngkhxngphupwymaerngophrnghlngcmuk 1 inpccubnichkarwdpriman EBV DNA innaehluxngephuxtidtamphlkarrksaphupwymaerngophrnghlngcmuk 2 suksasphawaehnuxphnthukrrmkhxngsaydiexnexebssaephuxkhwbkhumkarthangankhxngyinaelapkpxngcionmkhxngesll 2 8 thaihekidaenwthangihminkarpxngkn trwckrxngwinicchyaelarksa maerngaelakhwamchrainxnakht 3 suksasphawaehnuxphnthukrrmkhxngyinthicaephraakbchnidenuxeyuxhruxchnidkartidechuxiwrs 9 13 thaihekidaenwthangihminkartrwckrxngaelawinicchymaernginxnakht 4 khnphbrxychikkhadkhxngdiexnexthidi 14 17 thixacmipraoychnpxngknkhwamimesthiyrkhxngcionm khwamchraaelamaerng nacathaihekidaenwthangihminkarpxngknkarekidmaerngaelakhwamchrainxnakht inpi pi ph s 2551 khnaphuwicyidrayngan karkhnphb diexnexkhxngechuxiwrsexphsitnbar Epstein Barr virus EBV hrux EBVDNA innaehluxngkhxngphupwymaerngophrnghlngcmuk karkhnphbnithaihekidkarphthnakartrwctidtamphlkarrksa odythi EBVDNA cahayhmdiphakimmienuxmaerngophrnghlngcmukhlngehlux aelahakphbmi EBVDNA innaehluxngaesdngwamikarklbepnsaekidkhun inpccubn aetlapimiphupwymaerngophrnghlngcmukpraman 6 aesnkhnthwolk idpraoychncakkartrwcha EBVDNA innaehluxng tngaetpi ph s 2547 khnaphuwicyerimrayngankhnphbkarepluynaeplngsphawaehnuxphnthukrrmkhxngsaydiexnexebssainesllmaerng inphuchra aelainorkhxun echn kradukphu orkh SLE hruxruckkninchuxorkhphumphwng karsuksatxenuxngthaihruklikaelabthbaththisngphltxkarekidphyathisphaphkhxngorkh thngcak khwamimesthiyrkhxngcionmaelakaraesdngxxkkhxngyinthiepliynip inpccubnkhnaphuwicy kalngsuksawithikarthicanakhwamruekiywkb sphawaehnuxphnthukrrmkhxngsaydiexnexebssa maphthnaepnyarksamaerng pxngknkhwamphikarcakkhwamchra aelakartrwckrxngmaerngthiphbbxy nxkcaknikhnaphuwicyyngepnphukhnphbsphawaehnuxphnthukrrmkhxngyinthicaephraakbchnidenuxeyuxhruxchnidkartidechuxiwrs aelakalngkalngsuksawithikarthicanakhwamruniipichwinicchyaelakartrwckrxngmaernginxnakht inpi ph s 2547 khnaphuwicyrayngankarkhnphbrxychikkhadkhxngdiexnexthiimekhythukkhnphbmakxn rxychikkhadkhxngdiexnexthiruckkncathaiheslltayhruxklayphnthu aetrxychikkhadthikhnphbklbnacamipraoychntxesllthaihcionmesthiyr imaekaelaimepnmaerng dngnnkarekhaicklikkarepliynaeplnginradbomelkulthirxychikkhadnixacnaipsukarpxngknkaraekaelamaernginxnakht aelaphlnganwicythimichuxesiyngthisudkhuxkarkhnphbkliktnnakhxngkhwamchrabriewnrxyaeyk youth DNA gap trngcudthimidiexnexaemdthielchn DNA methylation aelaepnthimakhxngkarphthna omelkulmniaedng hrux RED GEMs REjuvenating DNA by GEnomic Stability Molecules sungmibthbathinkarchwypkpxngdiexnexaelapxngknkhwamaekchraindiexnex odyemuxmnusyxayumakkhun rxyaeykdiexnexcaldlng thaihekidaerngtungthwsaykhxngdiexnex diexneximsamarthhmuntwidxyangpkti aelathukthalayidngay cungphbrxyorkhindiexnexkhxngesllthiaekchraaelweyxakhun sungrxyorkhdiexnexnicasngsyyanihesllhyudkaraebngtwtampktiaelaekhasukhwamaekchra rwmthungxacnaipsukarklayphnthuaelamaerngid omelkulmniaedngkhuxyinthimihnathiepnkrrikrephuxsrangrxyaeykdiexnex esllthiidrbmniaedngcamidiexnexthiaekhngaerngkhun aelathaihesllthiesuxmlngaelwklbmadikhunprawtikarthanganph s 2530 pccubn xacarypracahnwymnusyphnthusastr phakhwichakaywiphakhsastr khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly ph s 2544 pccubn phuxanwykarhlksutrdusdibnthit shsakhawichachiwewchsastr culalngkrnmhawithyaly pccubn darngtaaehnnghwhnaphakhwichakaywiphakhsastr khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyalytaaehnngthangwichakarph s 2530 2539 xacarykhnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly ph s 2540 2541 phuchwysastracary khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly ph s 2541 2547 rxngsastracary khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly ph s 2547 2551 sastracary khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly ph s 2551 pccubn sastracary radb11 A 1 khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyalyekiyrtikhunph s 2539 rangwlnkwithyasastrrunihm mulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithyinphrabrmrachupthmph ph s 2542 rangwlphlnganekiyrtiys sankngankxngthunsnbsnunkarwicy skw sahrbphlnganwicykhxng skw thimi impact factor sungsud ph s 2542 rangwlphlnganekiyrtiys sankngankxngthunsnbsnunkarwicy sahrbphlnganwicykhxng skw thiidrbkarxangxing sungsud ph s 2543 Eminent Scientist amp IRPC International Award Winner ph s 2543 The Takeo Wada Outstanding Cancer Researcher ph s 2548 rangwlphlnganwicyradbdieyiym sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati eruxng xnuphnthusastrkhxngmaerngophrnghlngcmuk ph s 2548 emthiwicyxawuos skw sankngankxngthunsnbsnunkarwicy ph s 2549 phlnganwicyidrbkarxangxingsungsud culalngkrnmhawithyaly ph s 2549 nkwicydiedn culalngkrnmhawithyaly ph s 2549 nkwicydiednaehngchati sankngankhnakrrmkarwicyaehngchati ph s 2551 nkwithyasastrdiednkhxngithy mulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithyinphrabrmrachupthmphhnathiaelakickrrminxngkhkrtang ph s 2538 pccubn smachikaelakrrmkarsmakhmphnthusastraehngpraethsithy 1 2009 07 27 thi ewyaebkaemchchin ph s 2543 pccubn krrmkarinxnukrrmkarfaywichakar mulnithirangwlsmedcecafamhidl 2 ekhruxngrachxisriyaphrnph s 2556 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2553 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2550 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn chnthi 4 ctutthdierkkhunaphrn c ph ph s 2561 ehriyydusdimala ekhmsilpwithya r d m s sakhaaephthysastrxangxings dr nph xphiwthn muthirangkur xphiwthn muthirangkur aephthy cula nkwicydiednkhnphbklikkx maerng cula ptth xinonbik cbmuxetriymphlitnwtkrrm mniaedng tanesllchra rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2556 elm 130 txnthi 30 kh hna 5 6 thnwakhm 2556 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2553 elm 127 txnthi 14 kh hna 18 8 thnwakhm 2553 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthisrresriyyingdierkkhunaphrn elm 125 txnthi 2 kh hna 121 7 mkrakhm 2551 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyydusdimala ekhmsilpwithya pracapi 2561 elm 136 txnthi 1 kh hna 5 28 mkrakhm 2562exksarephimetimMolecular genetics of cancer a brief history and my discoveriesLink lingkesiy esrsthkicphxephiyngaelakarwicy ephuxsrangxngkhkhwamru Link lingkesiy