อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ตั้งอยู่เลขที่ 14/16 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกคอกวัว สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2544
อนุสรณ์สถานเมื่อปี 2563 | |
ที่ตั้ง | สี่แยกคอกวัว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร |
---|---|
ประเภท | อนุสรณ์สถาน |
เริ่มก่อสร้าง | พ.ศ. 2541 |
สร้างเสร็จ | พ.ศ. 2544 |
การเปิด | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2544 |
อุทิศแด่ | ผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 |
สถานที่
สถานที่จัดสร้างอนุสรณ์สถาน เช่ามาจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ภายในอนุสรณ์สถานมีพิพิธภัณฑ์ ห้องสมุด สำนักงาน ห้องประชุม ลานกิจกรรม สวนสาธารณะ และประติมากรรมต่าง ๆ
หนึ่งในประติมากรรมที่เด่นเป็นเอกลักษณ์ คือ สถูปวีรชน 14 ตุลา เป็นรูปกรวยคว่ำ สูง 14 เมตร จารึกรายชื่อผู้เสียชีวิตทั้งหมด 72 คนและบทกวีของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ รูปกรวยคว่าเป็นสัญลักษณ์ของจิตวิญญาณการมนุษย์ ส่วนปลายยอดกรวยที่ดูเหมือนยังสร้างไม่เสร็จแทนการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย สิทธิ และเสรีภาพที่ยังต้องดำเนินต่อไป
ประวัติการก่อสร้าง
การก่อสร้างอนุสรณ์สถาน 14 ตุลา มีประวัติอันยาวนาน เริ่มตั้งแต่มีการเสนอให้สร้างอนุสาวรีย์สำหรับผู้ที่เสียชีวิตในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ผ่านคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์เมื่อ พ.ศ. 2517 แต่ประสบอุปสรรคนานัปการ วีรชนเดือนตุลาที่กลุ่มการเมืองแทบทุกฝ่ายยกเว้นกองทัพเห็นงามด้วยทีแรกกลับถูกตีความใหม่หลังเหตุการณ์ 6 ตุลา (พ.ศ. 2519) ว่าเป็นผู้ก่อความวุ่นวาย เป็นเหตุให้ไม่ได้สร้างอนุสาวรีย์ทั้งที่วางศิลาฤกษ์แล้วในเดือนตุลาคม 2518:266 เริ่มมีความพยายามสร้างอนุสาวรีย์แก่วีรชนเดือนตุลา และนักศึกษา 6 ตุลาในปี 2532 แต่ล่าช้ามาเรื่อย ๆ จนสุดท้ายในปี 2541 มีการตั้งอนุสาวรีย์อุทิศให้แก่วีรชน 14 ตุลา 2516 ซึ่งศาสตราจารย์ธงชัย วนิจจะกุลแย้งว่าที่ตั้งได้ส่วนหนึ่งเพราะกันนักศึกษา 6 ตุลาไปแล้ว
ในปี 2532 รัฐบาลชาติชาย (ซึ่งตัวเขาเองสนับสนุนการเดินขบวนของฝ่ายขวาในเหตุการณ์ 6 ตุลา) ตกลงจะสร้างอนุสาวรีย์ แต่ก็ไม่ได้สร้าง ในปี 2538 แผนการสร้างอนุสาวรีย์ได้เริ่มขึ้นแล้วที่สวนสันติพร แต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำริให้สร้างถนนเลี่ยงเมืองในบริเวณนั้น ทำให้แผนต้องถูกยกเลิกไปอีก จนในปี 2541 ธีรยุทธ บุญมีอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวกับอานันท์ ปันยารชุนเจรจาทำสัญญาส่วนตัวกับผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จนสุดท้ายมีการสร้างอนุสาวรีย์จนได้ แต่อุทิศให้แก่วีรชน 14 ตุลา 2516 เท่านั้น:268–9
จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2544 อนุสรณ์สถานแห่งนี้จึงจะสามารถสร้างได้แล้วเสร็จ ทั้งนี้ก็ด้วยแรงผลักดันอย่างต่อเนื่องจากขบวนการนิสิตนักศึกษา อดีตนักศึกษาในสมัย 14 ตุลา นักวิชาการ สื่อมวลชน องค์กรพัฒนาเอกชน และประชาชนผู้รักประชาธิปไตย
งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้างอนุสรณ์สถานแห่งนี้มาจากเงินบริจาคของประชาชนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และในโอกาสครบรอบ 28 ปี 14 ตุลา รวมกับเงินบริจาคของสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล กรุงเทพมหานคร และทบวงมหาวิทยาลัย โดยมี เป็นผู้รับผิดชอบ
ระเบียงภาพ
- ป้ายทางเข้า
- บริเวณบันไดป้ายทางเข้า
- บริเวณป้ายทางเข้าอีกด้านหนึ่ง
- ภาพมุมด้านกว้าง
- ภาพมุมด้านหน้า
- บริเวณด้านหน้ายอดอนุสรณ์สถาน
- บริเวณด้านบนอนุสรณ์สถาน
- บริเวณด้านหน้าอนุสรณ์สถาน
- ภายในอนุสรณ์สถาน
- บริเวณด้านบนอนุสาวรีย์วีรชนเดือนตุลา
- อนุสาวรีย์วีรชนเดือนตุลา
- อนุสาวรีย์วีรชนเดือนตุลาและบริเวณยอดอนุสรณ์
- ภายในฐาน
- ฐานอนุสรณ์
- บริเวณด้านฐานยอดอนุสรณ์
- ยอดอนุสรณ์
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Thongchai Winichakul (2002). "Remembering/ Silencing the Traumatic Past". In Shigeharu Tanabe and Charles F. Keyes eds., Cultural Crisis and Social Memory: Modernity and Identity in Thailand and Laos. Honolulu: University of Hawaii Press.
แหล่งข้อมูลอื่น
13°45′24″N 100°29′58″E / 13.756674°N 100.499352°E
- จาก 28 ปี 14 ตุลา ถึง 25 ปี 6 ตุลา ประวัติศาสตร์ที่ยังรอคอยการชำระ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xnusrnsthan 14 tula epnsingkxsrangthisrangkhunephuxepnthiralukthungphuesiychiwitinehtukarninwnthi 14 16 tulakhm ph s 2516 tngxyuelkhthi 14 16 thnnrachdaeninklang aekhwngbwrniews ekhtphrankhr krungethphmhankhr briewnsiaeykkhxkww srangesrcinpi ph s 2544xnusrnsthan 14 tulaxnusrnsthanemuxpi 2563thitngsiaeykkhxkww ekhtphrankhr krungethphmhankhrpraephthxnusrnsthanerimkxsrangph s 2541srangesrcph s 2544karepid14 tulakhm ph s 2544xuthisaedphuesiychiwitinehtukarninwnthi 14 16 tulakhm ph s 2516sthanthisthanthicdsrangxnusrnsthan echamacaksanknganthrphysinswnphramhakstriy phayinxnusrnsthanmiphiphithphnth hxngsmud sankngan hxngprachum lankickrrm swnsatharna aelapratimakrrmtang hnunginpratimakrrmthiednepnexklksn khux sthupwirchn 14 tula epnrupkrwykhwa sung 14 emtr carukraychuxphuesiychiwitthnghmd 72 khnaelabthkwikhxngenawrtn phngsiphbuly rupkrwykhwaepnsylksnkhxngcitwiyyankarmnusy swnplayyxdkrwythiduehmuxnyngsrangimesrcaethnkartxsuephuxprachathipity siththi aelaesriphaphthiyngtxngdaenintxipprawtikarkxsrangkarkxsrangxnusrnsthan 14 tula miprawtixnyawnan erimtngaetmikaresnxihsrangxnusawriysahrbphuthiesiychiwitinehtukarn 14 tulakhm 2516 phankhnarthmntrikhxngrthbalnaysyya thrrmskdiemux ph s 2517 aetprasbxupsrrkhnanpkar wirchneduxntulathiklumkaremuxngaethbthukfayykewnkxngthphehnngamdwythiaerkklbthuktikhwamihmhlngehtukarn 6 tula ph s 2519 waepnphukxkhwamwunway epnehtuihimidsrangxnusawriythngthiwangsilavksaelwineduxntulakhm 2518 266 erimmikhwamphyayamsrangxnusawriyaekwirchneduxntula aelanksuksa 6 tulainpi 2532 aetlachamaeruxy cnsudthayinpi 2541 mikartngxnusawriyxuthisihaekwirchn 14 tula 2516 sungsastracarythngchy wniccakulaeyngwathitngidswnhnungephraaknnksuksa 6 tulaipaelw inpi 2532 rthbalchatichay sungtwekhaexngsnbsnunkaredinkhbwnkhxngfaykhwainehtukarn 6 tula tklngcasrangxnusawriy aetkimidsrang inpi 2538 aephnkarsrangxnusawriyiderimkhunaelwthiswnsntiphr aetphrabathsmedcphraecaxyuhwthrngmiphrarachdariihsrangthnneliyngemuxnginbriewnnn thaihaephntxngthukykelikipxik cninpi 2541 thiryuthth buymixasykhwamsmphnthswntwkbxannth pnyarchunecrcathasyyaswntwkbphuxanwykarsanknganthrphysinswnphramhakstriy cnsudthaymikarsrangxnusawriycnid aetxuthisihaekwirchn 14 tula 2516 ethann 268 9 cnkrathngthung ph s 2544 xnusrnsthanaehngnicungcasamarthsrangidaelwesrc thngnikdwyaerngphlkdnxyangtxenuxngcakkhbwnkarnisitnksuksa xditnksuksainsmy 14 tula nkwichakar suxmwlchn xngkhkrphthnaexkchn aelaprachachnphurkprachathipity ngbpramanthiichinkarkxsrangxnusrnsthanaehngnimacakenginbricakhkhxngprachachninehtukarn 14 tulakhm 2516 aelainoxkaskhrbrxb 28 pi 14 tula rwmkbenginbricakhkhxngsanknganslakkinaebngrthbal krungethphmhankhr aelathbwngmhawithyaly odymi epnphurbphidchxbraebiyngphaphpaythangekha briewnbnidpaythangekha briewnpaythangekhaxikdanhnung phaphmumdankwang phaphmumdanhna briewndanhnayxdxnusrnsthan briewndanbnxnusrnsthan briewndanhnaxnusrnsthan phayinxnusrnsthan briewndanbnxnusawriywirchneduxntula xnusawriywirchneduxntula xnusawriywirchneduxntulaaelabriewnyxdxnusrn phayinthan thanxnusrn briewndanthanyxdxnusrn yxdxnusrnduephimehtukarn 14 tula ehtukarn 6 tula phvsphathmil phvsphaxamhitxangxingThongchai Winichakul 2002 Remembering Silencing the Traumatic Past In Shigeharu Tanabe and Charles F Keyes eds Cultural Crisis and Social Memory Modernity and Identity in Thailand and Laos Honolulu University of Hawaii Press aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xnusrnsthan 14 tula 13 45 24 N 100 29 58 E 13 756674 N 100 499352 E 13 756674 100 499352 cak 28 pi 14 tula thung 25 pi 6 tula prawtisastrthiyngrxkhxykarchara bthkhwamxakhar hrux sthanthisakhyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk