หลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุ (อังกฤษ: Takayasu's arteritis) เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากการอักเสบของหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Takayasu's aortitis หรือ pulseless disease หรือ aortic arch syndrome โดยชื่อของโรคนี้ได้มาจากแพทย์ชาวญี่ปุ่นที่ค้นพบโรคนี้เมื่อปี พ.ศ. 2451 ชื่อนายแพทย์ (อังกฤษ: Mikito Takayasu; ญี่ปุ่น: 高安 右人) โดยเขาได้รายงานผู้ป่วยรายแรกในการประชุมประจำปีของสมาคมจักษุแพทย์ประเทศญี่ปุ่น ลักษณะความผิดปกติของหลอดเลือดที่จอตามีลักษณะจำเพาะที่ไม่เคยพบก่อนหน้านั้น ผู้ป่วยโรคทากายาซุส่วนใหญ่จะเกิดการอักเสบของเส้นเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา และแขนงต่าง ๆ ของเส้นเลือดเอออร์ตา รวมทั้งเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงแขนขา เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงไต นอกจากนี้ยังอาจพบการอักเสบของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงปอด และเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ แต่พบได้ไม่บ่อยนัก
หลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุ | |
---|---|
Left anterior oblique angiographic image of Takayasu's arteritis showing areas of stenosis in multiple great vessels | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | M31.4 |
ICD- | 446.7 |
207600 | |
12879 | |
001250 | |
med/2232 ped/1956 neuro/361 radio/51 | |
MeSH | D013625 |
โรคนี้ทำให้เกิดความเสียหายต่ออวัยวะสำคัญต่าง ๆ ในร่างกาย ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของโรคนี้คือทำให้ชีพจรเส้นเลือดที่แขนขาเบาลงหรือหายไป บางรายทำให้ระบบไหลเวียนล้มเหลว แขนขาเย็นเฉียบ ปวดกล้ามเนื้อเวลาที่ใช้งานหรือออกกำลัง ผู้ป่วยโรคทากายาซุอาจเกิดอัมพาตได้ถ้าเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมองเกิดการอักเสบขึ้น โรคนี้ถือว่าเป็นโรคที่อันตรายมากโรคหนึ่ง อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ และเมื่อเวลาผ่านไป โรคเข้าสู่ระยะเรื้อรัง จะเกิดการตีบแคบของหลอดเลือดจนเกิดแผลเป็นที่เยื่อบุผนังหลอดเลือด และเส้นเลือดเกิดการอักเสบชนิดโป่งพองเป็นบอลลูน ผู้ป่วยโรคทากายาซุร้อยละ 90 เป็นหญิงชาวเอเชีย โรคนี้พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายในอัตราส่วน 9:1 สามในสี่รายจะเริ่มมีอาการตั้งแต่อายุน้อย ๆ เช่น เมื่อยังเป็นวัยรุ่นอยู่ อายุเฉลี่ยเมื่อได้รับการวินิจฉัยประมาณ 25 ปี ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากอาการในระยะแรกของโรคทากายาซุจะน้อยมาก และเป็นอาการที่ไม่จำเพาะเจาะจงแต่อย่างใด ประมาณร้อยละ 96 ของผู้ป่วยโรคทากายาซุจะไม่ได้รับการวินิจฉัย จนกว่าจะเริ่มมีอาการที่ปรากฏชัดเจนมากขึ้น
โรคนี้เป็นโรคที่พบอุบัติการณ์ได้ทั่วโลก แต่พบได้บ่อยในประเทศญี่ปุ่น เกาหลี จีน อินเดีย และประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สาเหตุ
ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุของโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุที่แน่ชัด แต่เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับกลไกทางระบบอิมมูน หรือระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย สำหรับชนชาวเอเชีย และถือเป็นสาเหตุสำคัญของโรคความดันโลหิตสูงที่เกิดขึ้นกับผู้ที่มีอายุน้อย เช่น ในกลุ่มวัยรุ่น เป็นต้น ส่วนในประเทศฝั่งตะวันตก เช่นในสหรัฐอเมริกาและยุโรป โรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุเป็นโรคที่พบได้น้อยมาก แต่ละปีพบผู้ป่วยประมาณ 2-3 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน
อาการ
อาการของโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุแตกต่างกันได้มาก ทั้งนี้ขึ้นกับระยะของโรค และเส้นเลือดที่เกิดการอักเสบ อาการในระยะแรก ๆ ได้แก่ ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เหงื่อออกกลางคืน ปวดข้อ เจ็บหน้าอก ส่วนอาการในระยะหลัง จะเกิดจากการตีบตันของเส้นเลือดที่เกิดการอักเสบ ทำให้ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะเหล่านั้นลดน้อยลง อาการเหล่านี้ได้แก่
- ความดันโลหิตสูงและไตวาย เกิดจากเลือดไปเลี้ยงไตลดน้อยลง
- ตรวจวัดชีพจรที่แขน คอ และขา ไม่ได้
- ค่าความดันโลหิตที่วัดจากแขนซ้ายและขวาแตกต่างกัน
- ค่าความดันโลหิตที่วัดบริเวณแขนและขาแตกต่างกัน
- อาการเจ็บแน่นหน้าอก
- เหนื่อยง่าย หายใจไม่ออก เกิดจากการทำงานของหัวใจบกพร่อง
- หน้ามืด เป็นลม มึนศีรษะ เกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
- ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน เกิดจากเลือดไปเลี้ยงอวัยวะในช่องท้องไม่พอ
- กล้ามเนื้ออ่อนแรง และปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แขน และขา เมื่อเคลื่อนไหว
การวินิจฉัย
เนื่องจากโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุเป็นโรคที่พบได้น้อย และอาการในระยะแรกไม่จำเพาะเจาะจง การวินิจฉัยจึงค่อนข้างยาก และอาจวินิจฉัยได้เมื่ออาการปราฏเด่นชัดมากขึ้น บางรายแพทย์ติดตามอาการผิดปกติอยู่นานเป็นเดือน ๆ จึงให้การวินิจฉัยโรค
อาการที่ชวนให้สงสัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุ ได้แก่
- ตรวจพบความดันโลหิตสูงที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน
- ในรายที่ตรวจวัดความดันโลหิตที่แขนข้างใดข้างหนึ่ง
- ค่าความดันโลหิตที่วัดจากแขนสองข้างแตกต่างกันและไม่เท่ากัน
- อาการของเลือดไหลเวียนลดน้อยลง ซึ่งเป็นอาการที่ไม่ควรเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่อายุยังน้อย
แพทย์จะสงสัยว่าผู้ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุ ถ้าตรวจพบสิ่งต่อไปนี้ ตั้งแต่ 3 ข้อขึ้นไป
- อาการเกิดขึ้นก่อนอายุ 40 ปี
- กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เมื่อขยับแขน-ขา
- ตรวจพบชีพจรที่แขนเบาผิดปกติ
- เมื่อตรวจด้วยหูฟัง พบว่ามีเสียงผิดปกติชนิดที่เรียกว่า bruit ซึ่งเกิดจากเลือดไหลวน
- เอ็กซเรย์ตรวจหลอดเลือดทางรังสี พบลักษณะผิดปกติของหลอดเลือดเอออร์ตา
- ค่าความดันโลหิตตัวบน เมื่อวัดที่แขนทั้งสองข้าง ต่างกันมากกว่า 10 มิลลิเมตรปรอท
เพื่อเป็นการยืนยันการวินิจฉัย แพทย์จะทบทวนประวัติอาการโดยละเอียดอีกครั้งหนึ่ง และทำการตรวจร่างกายเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การตรวจร่างกายระบหัวใจและหลอดเลือดอย่างละเอียด การวัดความดันโลหิตต้องวัดทุกตำแหน่ง ทั้งซ้ายและขวา พิจารณาความแรงของชีพจรที่แขนขา และที่คอ การตรวจเพื่อฟังเสียง bruit ในบริเวณของเส้นเลือดที่ตีบแคบ ตำแหน่งที่ตรวจพบได้บ่อย ได้แก่ บริเวณหน้าอก คอ และ ผนังหน้าท้อง หลังจากตรวจร่างกายอย่างละเอียด อาจจำเป็นต้องตรวจเพิ่มทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตรวจเลือด ตรวจเอ็กซเรย์หลอดเลือด อัลตราซาวน์ MRI หรือ CT scan
การรักษา
- การรักษาโรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาซุที่สำคัญที่สุดคือลดปฏิกิริยาอักเสบที่เกิดขึ้น การใช้ยาในกลุ่มสเตียรอยด์หรือกลูโคคอร์ติคอยด์ เช่น เพรดนิโซโลน มักจะได้ผลดีในผู้ป่วยโรคนี้ส่วนใหญ่ ในบางรายอาจไม่ได้ผลหรือกลับเป็นซ้ำ
- ถ้ารักษาไประยะหนึ่งแล้วไม่ได้ผล อาจพิจารณาให้ยาในกลุ่มกดภูมิคุ้มกัน ได้แก่ methotrexate (Rheumatrex, Trexall), cyclosporine, cyclophosphamide (Cytoxan), azathioprine (Imuran)
- ในกรณีที่ความดันโลหิตสูง ต้องใช้ยาเพื่อลดความดันโลหิตด้วย
- ในรายที่ตรวจพบว่าเส้นเลือดเกิดการตีบตัน อาจต้องเข้ารับการผ่าตัดรักษาเพื่อขยายเส้นเลือด หรือใช้บอลลูนขยายหลอดเลือดที่ตีบตัน
รายการอ้างอิง
- American College of Physicians (ACP). Medical Knowledge Self-Assessment Program (MKSAP-15): Rheumatology. "Systemic Vasculitis." Pg. 65–67. 2009, ACP. [1] เก็บถาวร 2010-10-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- James, William D.; Berger, Timothy G.; และคณะ (2006). Andrews' Diseases of the Skin: clinical Dermatology. Saunders Elsevier. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - synd/2722 ใน Who Named It?
- M. Takayasu. A case with peculiar changes of the central retinal vessels. Acta Societatis ophthalmologicae Japonicae, Tokyo 1908, 12: 554.
- [2] เก็บถาวร 2021-12-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, รายงานการตรวจศพ โรคหลอดเลือดแดงอักเสบทากายาสุ, วารสารจุฬานิติเวช.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Johns Hopkins Vasculitis Center Discusses Takayasu's Arteritis เก็บถาวร 2004-12-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- -362086386 ที่ GPnotebook
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hlxdeluxdaedngxkesbthakayasu xngkvs Takayasu s arteritis epnorkheruxrngthiekidcakkarxkesbkhxnghlxdeluxdaedngkhnadihy eriykxikxyanghnungwa Takayasu s aortitis hrux pulseless disease hrux aortic arch syndrome odychuxkhxngorkhniidmacakaephthychawyipunthikhnphborkhniemuxpi ph s 2451 chuxnayaephthy xngkvs Mikito Takayasu yipun 高安 右人 odyekhaidraynganphupwyrayaerkinkarprachumpracapikhxngsmakhmcksuaephthypraethsyipun lksnakhwamphidpktikhxnghlxdeluxdthicxtamilksnacaephaathiimekhyphbkxnhnann phupwyorkhthakayasuswnihycaekidkarxkesbkhxngesneluxdaedngihyexxxrta aelaaekhnngtang khxngesneluxdexxxrta rwmthngesneluxdthiipeliyngsmxng esneluxdthiipeliyngaekhnkha esneluxdthiipeliyngit nxkcakniyngxacphbkarxkesbkhxngesneluxdthiipeliyngpxd aelaesneluxdthiipeliynghwic aetphbidimbxynkhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuLeft anterior oblique angiographic image of Takayasu s arteritis showing areas of stenosis in multiple great vesselsbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10M31 4ICD 446 720760012879001250med 2232 ped 1956 neuro 361 radio 51MeSHD013625 orkhnithaihekidkhwamesiyhaytxxwywasakhytang inrangkay lksnaechphaaxyanghnungkhxngorkhnikhuxthaihchiphcresneluxdthiaekhnkhaebalnghruxhayip bangraythaihrabbihlewiynlmehlw aekhnkhaeynechiyb pwdklamenuxewlathiichnganhruxxxkkalng phupwyorkhthakayasuxacekidxmphatidthaesneluxdthiipeliyngsmxngekidkarxkesbkhun orkhnithuxwaepnorkhthixntraymakorkhhnung xacthaihphupwyesiychiwitid aelaemuxewlaphanip orkhekhasurayaeruxrng caekidkartibaekhbkhxnghlxdeluxdcnekidaephlepnthieyuxbuphnnghlxdeluxd aelaesneluxdekidkarxkesbchnidopngphxngepnbxllun phupwyorkhthakayasurxyla 90 epnhyingchawexechiy orkhniphbinphuhyingmakkwaphuchayinxtraswn 9 1 saminsiraycaerimmixakartngaetxayunxy echn emuxyngepnwyrunxyu xayuechliyemuxidrbkarwinicchypraman 25 pi thiepnechnnienuxngcakxakarinrayaaerkkhxngorkhthakayasucanxymak aelaepnxakarthiimcaephaaecaacngaetxyangid pramanrxyla 96 khxngphupwyorkhthakayasucaimidrbkarwinicchy cnkwacaerimmixakarthipraktchdecnmakkhun orkhniepnorkhthiphbxubtikarnidthwolk aetphbidbxyinpraethsyipun ekahli cin xinediy aelapraethsaethbexechiytawnxxkechiyngitsaehtupccubnyngimthrabsaehtukhxngorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuthiaenchd aetechuxwaekiywkhxngkbklikthangrabbximmun hruxrabbphumikhumknkhxngrangkay sahrbchnchawexechiy aelathuxepnsaehtusakhykhxngorkhkhwamdnolhitsungthiekidkhunkbphuthimixayunxy echn inklumwyrun epntn swninpraethsfngtawntk echninshrthxemrikaaelayuorp orkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuepnorkhthiphbidnxymak aetlapiphbphupwypraman 2 3 raytxprachakrhnunglankhnxakarxakarkhxngorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuaetktangknidmak thngnikhunkbrayakhxngorkh aelaesneluxdthiekidkarxkesb xakarinrayaaerk idaek ikh xxnephliy ebuxxahar nahnkld ehnguxxxkklangkhun pwdkhx ecbhnaxk swnxakarinrayahlng caekidcakkartibtnkhxngesneluxdthiekidkarxkesb thaihprimaneluxdthiipeliyngxwywaehlannldnxylng xakarehlaniidaek khwamdnolhitsungaelaitway ekidcakeluxdipeliyngitldnxylng trwcwdchiphcrthiaekhn khx aelakha imid khakhwamdnolhitthiwdcakaekhnsayaelakhwaaetktangkn khakhwamdnolhitthiwdbriewnaekhnaelakhaaetktangkn xakarecbaennhnaxk ehnuxyngay hayicimxxk ekidcakkarthangankhxnghwicbkphrxng hnamud epnlm munsirsa ekidcakeluxdipeliyngsmxngimphx pwdthxng khlunis xaeciyn ekidcakeluxdipeliyngxwywainchxngthxngimphx klamenuxxxnaerng aelapwdemuxyklamenux aekhn aelakha emuxekhluxnihwkarwinicchyenuxngcakorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuepnorkhthiphbidnxy aelaxakarinrayaaerkimcaephaaecaacng karwinicchycungkhxnkhangyak aelaxacwinicchyidemuxxakarpratednchdmakkhun bangrayaephthytidtamxakarphidpktixyunanepneduxn cungihkarwinicchyorkh xakarthichwnihsngsywaepnorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasu idaek trwcphbkhwamdnolhitsungthiyngimthrabsaehtuthichdecn inraythitrwcwdkhwamdnolhitthiaekhnkhangidkhanghnung khakhwamdnolhitthiwdcakaekhnsxngkhangaetktangknaelaimethakn xakarkhxngeluxdihlewiynldnxylng sungepnxakarthiimkhwrekidkhuninphupwythixayuyngnxy aephthycasngsywaphupwyepnorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasu thatrwcphbsingtxipni tngaet 3 khxkhunip xakarekidkhunkxnxayu 40 pi klamenuxxxnaerng hruxpwdemuxyklamenux emuxkhybaekhn kha trwcphbchiphcrthiaekhnebaphidpkti emuxtrwcdwyhufng phbwamiesiyngphidpktichnidthieriykwa bruit sungekidcakeluxdihlwn exkserytrwchlxdeluxdthangrngsi phblksnaphidpktikhxnghlxdeluxdexxxrta khakhwamdnolhittwbn emuxwdthiaekhnthngsxngkhang tangknmakkwa 10 milliemtrprxth ephuxepnkaryunynkarwinicchy aephthycathbthwnprawtixakarodylaexiydxikkhrnghnung aelathakartrwcrangkayephimetim odyechphaaxyangying kartrwcrangkayrabhwicaelahlxdeluxdxyanglaexiyd karwdkhwamdnolhittxngwdthuktaaehnng thngsayaelakhwa phicarnakhwamaerngkhxngchiphcrthiaekhnkha aelathikhx kartrwcephuxfngesiyng bruit inbriewnkhxngesneluxdthitibaekhb taaehnngthitrwcphbidbxy idaek briewnhnaxk khx aela phnnghnathxng hlngcaktrwcrangkayxyanglaexiyd xaccaepntxngtrwcephimthanghxngptibtikar echn trwceluxd trwcexkseryhlxdeluxd xltrasawn MRI hrux CT scankarrksakarrksaorkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasuthisakhythisudkhuxldptikiriyaxkesbthiekidkhun karichyainklumsetiyrxydhruxkluokhkhxrtikhxyd echn ephrdniosoln mkcaidphldiinphupwyorkhniswnihy inbangrayxacimidphlhruxklbepnsa tharksaiprayahnungaelwimidphl xacphicarnaihyainklumkdphumikhumkn idaek methotrexate Rheumatrex Trexall cyclosporine cyclophosphamide Cytoxan azathioprine Imuran inkrnithikhwamdnolhitsung txngichyaephuxldkhwamdnolhitdwy inraythitrwcphbwaesneluxdekidkartibtn xactxngekharbkarphatdrksaephuxkhyayesneluxd hruxichbxllunkhyayhlxdeluxdthitibtnraykarxangxingAmerican College of Physicians ACP Medical Knowledge Self Assessment Program MKSAP 15 Rheumatology Systemic Vasculitis Pg 65 67 2009 ACP 1 ekbthawr 2010 10 30 thi ewyaebkaemchchin James William D Berger Timothy G aelakhna 2006 Andrews Diseases of the Skin clinical Dermatology Saunders Elsevier ISBN 0 7216 2921 0 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk synd 2722 in Who Named It M Takayasu A case with peculiar changes of the central retinal vessels Acta Societatis ophthalmologicae Japonicae Tokyo 1908 12 554 2 ekbthawr 2021 12 05 thi ewyaebkaemchchin rayngankartrwcsph orkhhlxdeluxdaedngxkesbthakayasu warsarculanitiewch aehlngkhxmulxunJohns Hopkins Vasculitis Center Discusses Takayasu s Arteritis ekbthawr 2004 12 11 thi ewyaebkaemchchin 362086386 thi GPnotebook