หมู่พเฏศวรมนเทียร (อังกฤษ: Bateshwar temples; IAST: baṭeśvar) เป็นกลุ่มมนเทียรเกือบ 200 แห่งที่สร้างจากหินทรายในตอนเหนือของรัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย สร้างขึ้นด้วยสถาปัตยกรรมโบสถ์พราหมณ์แบบนคร สมัยหลังคุปตะ-ตอนต้น ตั้งอยู่ห่างไป 35 กิโลเมตร (22 ไมล์) ทางเหนือของนครควาลิยัร และ 30 กิโลเมตร (19 ไมล์) ทางตะวันออกของเมืองใกล้สุด หมู่มนเทียรเหล่านี้กระจายตัวอยู่ในเพื้นที่ขนาด 25 เอเคอร์ (10 เฮกตาร์) และมีทั้งมนเทียรพระศิวะ พระวิษณุ ศักติเทวี ไปจนถึงพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หมู่มนเทียรเหล่านี้ตั้งอยู่บนชายฝั่งของแม่น้ำจัมพัล บนเนินเขาใกล้กับหมู่บ้านปฑาวลี (Padavali) มนเทียรเหล่านี้สร้างขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 8-10 และน่าจะตั้งชื่อตามภูเตศวรมนเทียร ซึ่งเป็นมนเทียรพระศิวะและใหญ่ที่สุดในหมู่มนเทียร มนเทียรส่วนใหญ่พังทลายลงในศตวรรษที่ 13 โดยเป็นที่เข้าใจว่าอาจะเกิดจากแผ่นดินไหว
หมู่พเฏศวรมนเทียร | |
---|---|
บางส่วนของมณฑปิกาในหมู่พเฏศวรมนเทียร | |
ศาสนา | |
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
เขต | |
เทพ | พระศิวะ, พระวิษณุ, พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร, ฯลฯ |
ที่ตั้ง | |
ที่ตั้ง | ปฑาวลี ลุ่มแม่น้ำจัมพัล |
รัฐ | มัธยประเทศ |
ประเทศ | ประเทศอินเดีย |
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย หมู่พเฏศวรมนเทียร (รัฐมัธยประเทศ) | |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 26°25′37.4″N 78°11′48.6″E / 26.427056°N 78.196833°E |
สถาปัตยกรรม | |
รูปแบบ | |
เสร็จสมบูรณ์ | ศตวรรษที่ 8-11 สมัย |
หลายมนเทียรในปัจจุบันได้รับการบูรณะโดยกรมสำรวจโบราณคดีอินเดียในปี 2005
น้กประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย ไมเคิล ไมชเตอร์ (Michael Meister) กำหนดอายุของมนเทียรที่เก่าที่สุด ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ควาลิยัร ว่าสร้างขึ้นในสมัย ค.ศ. 750-800 และระบุว่าความโดดเด่นสำคัญของหมู่มนเทียรนี้คือแนวคิดการก่อสร้างศาลแบบ มณฑปิกา ("Mandapika shrine") ในอินเดียกลาง ซึ่งเป็นการลดทอนแนวคิดการออกแบบมนเทียรกลับสู่แนวคิดพื้นฐานที่เรียบง่าย การออกแบบนี้ปรากฏบันทึกเป็นภาษาสันสกฤตเรียกว่า ศิลามณฑปิกา (sila mandapika; "มณฑปหิน")
อ้างอิง
- Subramanian, T.S. (16–29 Jan 2010). "Restored Glory". Frontline, Volume 27 – Issue 02. สืบค้นเมื่อ 17 January 2010.[]
- Madhya Pradesh (India)-Directorate of Archaeology & Museums (1989). Puratan, Volumes 6–7. Dept. of Archaeology and Museums, Madhya Pradesh. p. 113.
- Michael W. Meister (1976), Construction and Conception: Maṇḍapikā Shrines of Central India, East and West, Vol. 26, No. 3/4 (September - December 1976), page 415, Figure 21 caption, context: 409-418
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmuphetswrmnethiyr xngkvs Bateshwar temples IAST baṭesvar epnklummnethiyrekuxb 200 aehngthisrangcakhinthrayintxnehnuxkhxngrthmthypraeths praethsxinediy srangkhundwysthaptykrrmobsthphrahmnaebbnkhr smyhlngkhupta txntn tngxyuhangip 35 kiolemtr 22 iml thangehnuxkhxngnkhrkhwaliyr aela 30 kiolemtr 19 iml thangtawnxxkkhxngemuxngiklsud hmumnethiyrehlanikracaytwxyuinephunthikhnad 25 exekhxr 10 ehktar aelamithngmnethiyrphrasiwa phrawisnu sktiethwi ipcnthungphraophthistwxwolkietswr hmumnethiyrehlanitngxyubnchayfngkhxngaemnacmphl bneninekhaiklkbhmubanpthawli Padavali mnethiyrehlanisrangkhunrahwangstwrrsthi 8 10 aelanacatngchuxtamphuetswrmnethiyr sungepnmnethiyrphrasiwaaelaihythisudinhmumnethiyr mnethiyrswnihyphngthlaylnginstwrrsthi 13 odyepnthiekhaicwaxacaekidcakaephndinihwhmuphetswrmnethiyrbangswnkhxngmnthpikainhmuphetswrmnethiyrsasnasasnasasnahinduekhtethphphrasiwa phrawisnu phraophthistwxwolkietswr lthitngthitngpthawli lumaemnacmphlrthmthypraethspraethspraethsxinediythitnginpraethsxinediyaesdngaephnthipraethsxinediyhmuphetswrmnethiyr rthmthypraeths aesdngaephnthirthmthypraethsphikdphumisastr26 25 37 4 N 78 11 48 6 E 26 427056 N 78 196833 E 26 427056 78 196833sthaptykrrmrupaebbesrcsmburnstwrrsthi 8 11 smy hlaymnethiyrinpccubnidrbkarburnaodykrmsarwcobrankhdixinediyinpi 2005 nkprawtisastrsilpaxinediy imekhil imchetxr Michael Meister kahndxayukhxngmnethiyrthiekathisud sungtngxyuiklkhwaliyr wasrangkhuninsmy kh s 750 800 aelarabuwakhwamoddednsakhykhxnghmumnethiyrnikhuxaenwkhidkarkxsrangsalaebb mnthpika Mandapika shrine inxinediyklang sungepnkarldthxnaenwkhidkarxxkaebbmnethiyrklbsuaenwkhidphunthanthieriybngay karxxkaebbnipraktbnthukepnphasasnskvteriykwa silamnthpika sila mandapika mnthphin xangxingSubramanian T S 16 29 Jan 2010 Restored Glory Frontline Volume 27 Issue 02 subkhnemux 17 January 2010 lingkesiy Madhya Pradesh India Directorate of Archaeology amp Museums 1989 Puratan Volumes 6 7 Dept of Archaeology and Museums Madhya Pradesh p 113 Michael W Meister 1976 Construction and Conception Maṇḍapika Shrines of Central India East and West Vol 26 No 3 4 September December 1976 page 415 Figure 21 caption context 409 418