หมาใน ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยไพลสโตซีนตอนกลาง–ปัจจุบัน 0.781–0Ma | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Carnivora |
วงศ์: | |
วงศ์ย่อย: | |
สกุล: | Cuon , 1838 |
สปีชีส์: | C. alpinus |
ชื่อทวินาม | |
Cuon alpinus (, 1811) | |
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์ของหมาใน | |
ชื่อพ้อง | |
|
หมาใน, หมาป่าเอเชีย หรือ หมาแดง (อังกฤษ: dhole, asiatic wild dog ) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cuon alpinus ในวงศ์สุนัข (Canidae) เป็นหมาป่าที่มีขนาดใหญ่กว่าหมาจิ้งจอก จมูกสั้น ใบหูกลมมีขนาดใหญ่ ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นมีสีน้ำตาลแดง สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าบริเวณหลัง หางยาวเป็นพวง ปลายหางมีสีเทาเข้มหรือดำ จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยูในสกุล Cuon
หมาในเป็นหมาป่าขนาดปานกลาง ตัวผู้หนักประมาณ 15-20 กิโลกรัม ตัวเมีย 10-13 กิโลกรัม ความยาวหัว-ลำตัว 90 เซนติเมตร ความสูงที่หัวไหล่ประมาณ 50 เซนติเมตร ขนหนา แน่น สีน้ำตาลแดงอมส้ม ตัวที่อยู่ทางเหนือของเขตกระจายพันธุ์มักมีสีออกไปทางน้ำตาลหรือสีเหลืองอ่อนและขนยาวกว่า หมาในบางพื้นที่มีคอ ขา และใบหน้าสีขาว แต่หมาในในประเทศไทยมีสีน้ำตาลแดงตลอดทั้งตัวไม่มีสีขาว หางสีดำฟูเป็นพวงยาว 40-45 เซนติเมตร หลังสีเข้ม หูกลมใหญ่ ขนในหูสีขาว ปากสั้น มีกรามและฟันแข็งแรงมาก มีฟันกรามล่างเพียงข้างละสองซี่ ต่างจากหมาประเภทอื่นที่มีฟันกรามล่างข้างละสามซี่ จำนวนฟันทั้งปากจึงมี 40 ซี่ ซึ่งหมาชนิดอื่นมี 42 ซี่ หมาในพบตั้งแต่เอเชียตะวันออก อินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ลงไปจนถึงเกาะชวา ทางเหนือพบสูงสุดถึงระดับเส้นละติจูด 54 องศา
หมาในปรับตัวเข้ากับพื้นที่ได้หลายประเภท ตั้งแต่ร้อนจัดจนถึงเย็นจัด ชอบอาศัยอยู่ในป่าทึบบนภูเขา ป่าอัลไพน์ ป่าไม้พุ่ม จนถึงป่าเปิดใกล้ทุ่งหญ้า แต่ไม่เคยพบในทะเลทราย อาณาเขตของหมาในกว้างประมาณ 40-84 ตารางกิโลเมตร หมาในทำเครื่องหมายบอกอาณาเขตด้วยเยี่ยวและขี้ แต่ช่วงเวลาที่ฝูงมีสมาชิกตัวน้อย ขนาดของพื้นที่หากินจะเล็กลง
หมาในมีพฤติกรรมหลายอย่างคล้าย ทั้งการหากินและสภาพสังคม หมาในอาศัยอยู่เป็นฝูงราว 5-12 ตัว บางฝูงอาจใหญ่มากถึงกว่า 25 ตัว ประกอบด้วยสมาชิกครอบครัวเดียวกัน สมาชิกในฝูงมักมีตัวผู้มากกว่าตัวเมียสองเท่า และฝูงส่วนใหญ่ก็มักมีตัวเมียที่เป็นแม่หมาเพียงตัวเดียว การวิวาทหรือรังแกกันในฝูงเกิดน้อยมากเนื่องจากสังคมหมาในถือระบบลำดับชั้นมาก หากินตอนกลางวัน เช้ามืด และพลบค่ำเป็นหลัก หากินตอนกลางคืนบ้างแต่ไม่บ่อยนัก หมาในล่าสัตว์ได้หลายชนิด เช่นกวางดาว กวางป่า ควายป่า ลิงกัง หนู กระต่าย หมาในล่าสัตว์ใหญ่ด้วยการทำงานเป็นทีม เมื่อจับเหยื่อได้ก็จะเริ่มกินเหยื่อด้วยการกระชากลากไส้ทั้งเป็น ส่วนที่ถูกเลือกกินก่อนมักเป็นหัวใจ ตับ ลูกตา สะโพก และลูกในท้อง บางครั้งก็ล่าเหยื่อโดยลำพังได้ โดยเพราะเมื่อเหยื่อมีขนาดเล็กอย่างกระต่าย หมาในสามารถล่าเหยื่อที่หนักกว่าตัวเองถึง 10 เท่าได้ หมาในเพียงสองสามตัว ก็ล่ากวางที่หนักถึง 50 กิโลได้ภายในเวลาไม่ถึงสองนาที มักต้อนเหยื่อให้ลงน้ำ กินซากเหลือจากเสือบ้างแต่ไม่บ่อยนัก หมาในหวงเหยื่อมาก เคยพบว่าฆ่าเสือโคร่งและหมีได้ อย่างก็ตาม หมาในไม่ค่อยอยากยุ่งเกี่ยวกับคนและมักเลี่ยงคนเสมอ หมาในชอบน้ำมาก มักลงน้ำหลังจากกินอาหาร และมักนั่งแช่น้ำตื้น ๆ ไม่ว่าอากาศจะร้อนหรือเย็น ชอบส่ายหางเมื่อดีใจเช่นเดียวกับหมาบ้าน
หมาในเปล่งเสียงได้หลายแบบ นอกจากเสียงเหมือนผิวปากซึ่งใช้ในการสื่อสารในฝูงเป็นหลักแล้ว ยังทำเสียงเมี้ยวเหมือนลูกแมว เสียงกรีดร้อง เสียงซู่ซี่เบา ๆ หรือแม้แต่เสียงกุ๊ก ๆ ได้ด้วย
หมาในตัวเมียเป็นสัดราวเดือนกันยายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ตั้งท้องนานประมาณ 60-62 วัน ออกลูกครั้งละ 4-10 ตัว เคยพบมากที่สุดถึง 12 ตัว มักออกลูกในรังของสัตว์อื่นที่ทิ้งไปแล้ว เช่นรังเม่น แม่หมาในมีสัมพันธ์ระหว่างแม่หมาด้วยกันอย่างใกล้ชิด เคยพบว่ามีการใช้รังร่วมกันด้วย สมาชิกทุกตัวในฝูงจะช่วยกันดูแลเด็กและป้อนอาหารให้ หมาในผู้ใหญ่จะนำอาหารมาสู่เด็กด้วยการขย้อนออกมาให้เด็ก ๆ กิน สมาชิกผู้ใหญ่บางตัวอาจผู้เฝ้ารังเพื่อดูแลเด็ก ๆ ขณะที่ตัวอื่นออกไปเหยื่อด้วย ลูกหมาในโตเร็วมาก ลูกหมาจะเริ่มออกจากบริเวณรังเมื่ออายุได้ 10 สัปดาห์ ระหว่างที่ลูกหมาเติบโต จะมีการประลองกำลังกันเพื่อจัดลำดับชั้นในฝูง การต่อสู้เพื่อจัดอันดับนี้จะสิ้นสุดลงเมื่ออายุได้ราว 7 เดือน ซึ่งเป็นวัยที่เริ่มออกไปล่าเหยื่อร่วมกับฝูงได้ หมาในเป็นผู้ใหญ่เต็มตัวเมื่ออายุได้ 1 ปี ซึ่งหลังจากนั้นอาจแยกตัวออกไปหรืออาจยังอยู่กับฝูงก็ได้ หมาในสาวในแหล่งเพาะเลี้ยงจะเริ่มให้กำเนิดลูกได้เมื่ออายุได้ 2 ปี แต่ในธรรมชาติต้องรอให้ถึงปีที่ 3 จึงจะให้กำเนิดลูกได้
ในธรรมชาติ หมาในมีอายุขัยประมาณ 10 ปี ในแหล่งเพาะเลี้ยงอาจอยู่ได้นานถึง 16 ปี
หมาในถูกคุกคามจากการที่สัตว์เหยื่อลดจำนวนลง ถิ่นที่อยู่อาศัยถูกทำลายและจากการล่า ในอดีตก็เคยมีการฆ่าเพื่อเอาหนัง หมาในมักถูกกับดัก วางยาเบื่อ ถูกยิง หรือแม้แต่รังเลี้ยงลูกก็ถูกทำลาย การที่มนุษย์บุกรุกเข้าไปตั้งถิ่นฐานในป่าและนำหมาบ้านเข้าไปเลี้ยงด้วย ก็อาจทำให้โรคติดต่อบางอย่างแพร่ไปยังประชากรหมาในได้ เช่นในอินเดีย โรคจำพวกหัดหมาและโรคพิษสุนัขบ้าได้กวาดล้างประชากรหมาในไปเป็นจำนวนมาก ปัจจุบันหมาในได้รับการคุ้มครองในหลายประเทศ แต่ประชากรหมาในก็ยังน้อยตลอดเขตกระจายพันธุ์ คาดว่าเหลืออยู่ 2,500 ตัว
ไอยูซีเอ็นประเมินสถานภาพของหมาในว่าอยู่ในระดับใกล้สูญพันธุ์ (EN) ไซเตสจัดอยู่ในบัญชีหมายเลข 2 ไทยจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง
เบ็ตเตล็ต
- ชื่อสกุล Cuon มาจากภาษากรีก แปลว่า หมา
- alpinus มาจากภาษาละติน แปลว่า ภูเขาอัลไพน์
- หมาในกระโดดได้ถึง 2.1 เมตร
- หมาในรวมฝูงสามารถล่าสัตว์ที่หนักกว่าตัวมันเองถึงสิบเท่าได้ ไล่ได้แม้กระทั่งเสือโคร่ง
- เคยมีการพบฝูงหมาในที่มีมากถึง 40 ตัว
- เคยมีการพบหมาในยืนเยี่ยวโดยยืนด้วยขาหน้าสองขาเท่านั้น
- ในอินเดียเคยมีรายงานว่าฆ่าลูกช้างต่อหน้าแม่ช้างได้ แต่ก็ต้องแลกกับชีวิตของหมาในในฝูงไปหลายตัว
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Durbin, L.S., Hedges, S., Duckworth, J.W., Tyson, M., Lyenga, A. & Venkataraman, A. (IUCN SSC Canid Specialist Group - Dhole Working Group) (2008). Cuon alpinus. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 22 March 2009. Database entry includes justification for why this species is endangered
แหล่งข้อมูลอื่น
- http://www.cuon.net/dholes 2010-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Cuon alpinus ที่วิกิสปีชีส์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmain chwngewlathimichiwitxyu smyiphlsotsintxnklang pccubn 0 781 0Ma PreꞒ Ꞓ O S D C P T J K Pg N sthanakarxnurksiklsuyphnthu IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Carnivorawngs wngsyxy skul Cuon 1838spichis C alpinuschuxthwinamCuon alpinus 1811 aephnthiaesdngkarkracayphnthukhxnghmainchuxphxngCanis alpinus Pallas 1811 hmain hmapaexechiy hrux hmaaedng xngkvs dhole asiatic wild dog epnstweliynglukdwynmchnidhnung michuxwithyasastrwa Cuon alpinus inwngssunkh Canidae epnhmapathimikhnadihykwahmacingcxk cmuksn ibhuklmmikhnadihy khntamlatwkhxnkhangsnmisinatalaedng sikhnbriewnthxngcaxxnkwabriewnhlng hangyawepnphwng playhangmisiethaekhmhruxda cdepnsingmichiwitephiyngchnidediywthixyuinskul Cuon hmainepnhmapakhnadpanklang twphuhnkpraman 15 20 kiolkrm twemiy 10 13 kiolkrm khwamyawhw latw 90 esntiemtr khwamsungthihwihlpraman 50 esntiemtr khnhna aenn sinatalaedngxmsm twthixyuthangehnuxkhxngekhtkracayphnthumkmisixxkipthangnatalhruxsiehluxngxxnaelakhnyawkwa hmainbangphunthimikhx kha aelaibhnasikhaw aethmaininpraethsithymisinatalaedngtlxdthngtwimmisikhaw hangsidafuepnphwngyaw 40 45 esntiemtr hlngsiekhm huklmihy khninhusikhaw paksn mikramaelafnaekhngaerngmak mifnkramlangephiyngkhanglasxngsi tangcakhmapraephthxunthimifnkramlangkhanglasamsi canwnfnthngpakcungmi 40 si sunghmachnidxunmi 42 si hmainphbtngaetexechiytawnxxk xinediy cin exechiytawnxxkechiyngitlngipcnthungekaachwa thangehnuxphbsungsudthungradbesnlaticud 54 xngsa hmainprbtwekhakbphunthiidhlaypraephth tngaetrxncdcnthungeyncd chxbxasyxyuinpathubbnphuekha paxliphn paimphum cnthungpaepidiklthunghya aetimekhyphbinthaelthray xanaekhtkhxnghmainkwangpraman 40 84 tarangkiolemtr hmainthaekhruxnghmaybxkxanaekhtdwyeyiywaelakhi aetchwngewlathifungmismachiktwnxy khnadkhxngphunthihakincaelklng hmainmiphvtikrrmhlayxyangkhlay thngkarhakinaelasphaphsngkhm hmainxasyxyuepnfungraw 5 12 tw bangfungxacihymakthungkwa 25 tw prakxbdwysmachikkhrxbkhrwediywkn smachikinfungmkmitwphumakkwatwemiysxngetha aelafungswnihykmkmitwemiythiepnaemhmaephiyngtwediyw karwiwathhruxrngaekkninfungekidnxymakenuxngcaksngkhmhmainthuxrabbladbchnmak hakintxnklangwn echamud aelaphlbkhaepnhlk hakintxnklangkhunbangaetimbxynk hmainlastwidhlaychnid echnkwangdaw kwangpa khwaypa lingkng hnu kratay hmainlastwihydwykarthanganepnthim emuxcbehyuxidkcaerimkinehyuxdwykarkrachaklakisthngepn swnthithukeluxkkinkxnmkepnhwic tb lukta saophk aelalukinthxng bangkhrngklaehyuxodylaphngid odyephraaemuxehyuxmikhnadelkxyangkratay hmainsamarthlaehyuxthihnkkwatwexngthung 10 ethaid hmainephiyngsxngsamtw klakwangthihnkthung 50 kiolidphayinewlaimthungsxngnathi mktxnehyuxihlngna kinsakehluxcakesuxbangaetimbxynk hmainhwngehyuxmak ekhyphbwakhaesuxokhrngaelahmiid xyangktam hmainimkhxyxyakyungekiywkbkhnaelamkeliyngkhnesmx hmainchxbnamak mklngnahlngcakkinxahar aelamknngaechnatun imwaxakascarxnhruxeyn chxbsayhangemuxdiicechnediywkbhmaban hmaineplngesiyngidhlayaebb nxkcakesiyngehmuxnphiwpaksungichinkarsuxsarinfungepnhlkaelw yngthaesiyngemiywehmuxnlukaemw esiyngkridrxng esiyngsusieba hruxaemaetesiyngkuk iddwy hmaintwemiyepnsdraweduxnknyayncnthungeduxnkumphaphnth tngthxngnanpraman 60 62 wn xxklukkhrngla 4 10 tw ekhyphbmakthisudthung 12 tw mkxxklukinrngkhxngstwxunthithingipaelw echnrngemn aemhmainmismphnthrahwangaemhmadwyknxyangiklchid ekhyphbwamikarichrngrwmkndwy smachikthuktwinfungcachwyknduaeledkaelapxnxaharih hmainphuihycanaxaharmasuedkdwykarkhyxnxxkmaihedk kin smachikphuihybangtwxacphuefarngephuxduaeledk khnathitwxunxxkipehyuxdwy lukhmainoterwmak lukhmacaerimxxkcakbriewnrngemuxxayuid 10 spdah rahwangthilukhmaetibot camikarpralxngkalngknephuxcdladbchninfung kartxsuephuxcdxndbnicasinsudlngemuxxayuidraw 7 eduxn sungepnwythierimxxkiplaehyuxrwmkbfungid hmainepnphuihyetmtwemuxxayuid 1 pi sunghlngcaknnxacaeyktwxxkiphruxxacyngxyukbfungkid hmainsawinaehlngephaaeliyngcaerimihkaenidlukidemuxxayuid 2 pi aetinthrrmchatitxngrxihthungpithi 3 cungcaihkaenidlukid inthrrmchati hmainmixayukhypraman 10 pi inaehlngephaaeliyngxacxyuidnanthung 16 pi hmainthukkhukkhamcakkarthistwehyuxldcanwnlng thinthixyuxasythukthalayaelacakkarla inxditkekhymikarkhaephuxexahnng hmainmkthukkbdk wangyaebux thukying hruxaemaetrngeliynglukkthukthalay karthimnusybukrukekhaiptngthinthaninpaaelanahmabanekhaipeliyngdwy kxacthaihorkhtidtxbangxyangaephripyngprachakrhmainid echninxinediy orkhcaphwkhdhmaaelaorkhphissunkhbaidkwadlangprachakrhmainipepncanwnmak pccubnhmainidrbkarkhumkhrxnginhlaypraeths aetprachakrhmainkyngnxytlxdekhtkracayphnthu khadwaehluxxyu 2 500 tw ixyusiexnpraeminsthanphaphkhxnghmainwaxyuinradbiklsuyphnthu EN isetscdxyuinbychihmayelkh 2 ithycdepnstwpakhumkhrxngebtetltchuxskul Cuon macakphasakrik aeplwa hma alpinus macakphasalatin aeplwa phuekhaxliphn hmainkraoddidthung 2 1 emtr hmainrwmfungsamarthlastwthihnkkwatwmnexngthungsibethaid ilidaemkrathngesuxokhrng ekhymikarphbfunghmainthimimakthung 40 tw ekhymikarphbhmainyuneyiywodyyundwykhahnasxngkhaethann inxinediyekhymiraynganwakhalukchangtxhnaaemchangid aetktxngaelkkbchiwitkhxnghmaininfungiphlaytwduephimhmacingcxkxangxingDurbin L S Hedges S Duckworth J W Tyson M Lyenga A amp Venkataraman A IUCN SSC Canid Specialist Group Dhole Working Group 2008 Cuon alpinus In IUCN 2008 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 22 March 2009 Database entry includes justification for why this species is endangeredaehlngkhxmulxunhttp www cuon net dholes 2010 02 27 thi ewyaebkaemchchin khxmulthiekiywkhxngkb Cuon alpinus thiwikispichis wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Cuon alpinus