หมายเหตุ หรือ เชิงอรรถ คือข้อความที่วางอยู่ที่ตำแหน่งล่างสุดของหน้าในหนังสือหรือเอกสาร หรือที่ตำแหน่งจบบท จบเล่ม หรือข้อความทั้งหมด เนื้อหาของหมายเหตุสามารถใส่ความเห็นของผู้แต่งจากข้อความหลัก หรือการอ้างอิงงานเขียนที่สนับสนุนข้อความ หรือทั้งสองอย่าง การระบุหมายเหตุตามปกติกระทำโดยกำกับตัวเลขแบบตัวยกตามหลังส่วนของข้อความที่อ้างถึงหมายเหตุทันที ตัวอย่างเช่น
- ความคิดที่หนึ่ง1 สำหรับหมายเหตุที่หนึ่ง ความคิดที่สอง2 สำหรับหมายเหตุที่สอง เป็นต้น
ในบางโอกาส ตัวเลขนั้นก็คลุมด้วยวงเล็บโค้งหรือวงเล็บเหลี่ยมเช่น [1] สัญลักษณ์สำหรับการเรียงพิมพ์อย่างเช่นดอกจัน (*) หรือกริช () (†) ก็อาจนำมาใช้สำหรับการบ่งชี้ตำแหน่งหมายเหตุด้วย ซึ่งสัญลักษณ์ต่าง ๆ จะถูกใช้ตามลำดับดังนี้ *, , , , ‖, ตามแบบประเพณี เอกสารหลายชนิดอย่างเช่น ใช้สัญลักษณ์แตกต่างกันมากมาย รวมทั้งตัวเลขและตัวอักษรด้วย เพื่อสื่อให้ผู้อ่านทราบถึงหมายเหตุเฉพาะต่าง ๆ โดย
อ้างอิง
- Robert Bringhurst (2005). The Elements of Typographic Style (version 3.1). Point Roberts, WA: Hartley and Marks. pp 68–69. Bringhurst ยังกล่าวต่อไปอีกว่า “แต่เกินกว่า ... ดับเบิลแด็กเกอร์ ลำดับนี้ไม่เป็นที่คุ้นเคยแก่ผู้อ่านส่วนใหญ่ และก็ไม่เคยเป็นมาก่อน”
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
- Grafton, Anthony (2001). The Footnote: A Curious History. Cambridge, Mass.: . .
- Zerby, Chuck (2002). The Devil's Details: A History of Footnotes. New York: Simon & Schuster.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmayehtu hrux echingxrrth khuxkhxkhwamthiwangxyuthitaaehnnglangsudkhxnghnainhnngsuxhruxexksar hruxthitaaehnngcbbth cbelm hruxkhxkhwamthnghmd enuxhakhxnghmayehtusamarthiskhwamehnkhxngphuaetngcakkhxkhwamhlk hruxkarxangxingnganekhiynthisnbsnunkhxkhwam hruxthngsxngxyang karrabuhmayehtutampktikrathaodykakbtwelkhaebbtwyktamhlngswnkhxngkhxkhwamthixangthunghmayehtuthnthi twxyangechn khwamkhidthihnung1 sahrbhmayehtuthihnung khwamkhidthisxng2 sahrbhmayehtuthisxng epntn dd inbangoxkas twelkhnnkkhlumdwywngelbokhnghruxwngelbehliymechn 1 sylksnsahrbkareriyngphimphxyangechndxkcn hruxkrich kxacnamaichsahrbkarbngchitaaehnnghmayehtudwy sungsylksntang cathukichtamladbdngni tamaebbpraephni exksarhlaychnidxyangechn ichsylksnaetktangknmakmay rwmthngtwelkhaelatwxksrdwy ephuxsuxihphuxanthrabthunghmayehtuechphaatang odyxangxingRobert Bringhurst 2005 The Elements of Typographic Style version 3 1 Point Roberts WA Hartley and Marks pp 68 69 Bringhurst yngklawtxipxikwa aetekinkwa dbebilaedkekxr ladbniimepnthikhunekhyaekphuxanswnihy aelakimekhyepnmakxn hnngsuxxanephimetimGrafton Anthony 2001 The Footnote A Curious History Cambridge Mass ISBN 0 674 90215 7 Zerby Chuck 2002 The Devil s Details A History of Footnotes New York Simon amp Schuster bthkhwamniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul hmayehtu khxaenanaihcdhmwdhmuokhrngihekhakbenuxhakhxngbthkhwam duephimthi wikiphiediy okhrngkarcdhmwdhmuokhrngthiyngimsmburn dkhk