หมอนรองราง (ภาษาอังกฤษแบบบริติช: railroad sleeper; ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน: railroad tie) เป็นอุปกรณ์สำหรับใช้ยึดจับรางรถไฟให้อยู่กับที่ ช่วยให้ขอบรางทั้งสองเส้นมีระยะที่เท่ากัน และช่วยถ่ายเทน้ำหนักลงสู่หินหรือวัสดุรองราง หมอนรองรางรถไฟนิยมทำจากไม้เนื้อแข็ง หรือคอนกรีตอัดแรง ในบางครั้งอาจจะทำจากเหล็กกล้าขึ้นรูปก็ได้ หมอนแต่ละชนิดต่างเหมาะสมกับการใช้ที่แตกต่างกันคือ หมอนไม้สามารถใช้รองรางได้ทั่วไปทั้งทางปกติและสะพาน แต่ปัจจุบันนิยมใช้รองจุดที่รางสองเส้นต่อกัน ส่วนหมอนเหล็ก นิยมใช้บนสะพานเหล็กโดยเฉพาะ
ตาม หมอนคอนกรีตที่จะนำมาใช้ ต้องได้รับการทดสอบทั้งในด้านความทนทานต่อการกดดัน ตลอดจนความต้านทานไฟฟ้าที่อาจจะลัดจากรางเส้นหนึ่งไปหาอีกเส้นหนึ่งได้ เพื่อให้สามารถใช้ระบบวงจรไฟตอน (track circuit) ได้โดยไม่มีปัญหา
การจำแนกชนิด
หมอนไม้
หมอนไม้ ทำจากไม้เนื้อแข็ง (เช่น ไม้เต็ง ไม้มะค่า ฯลฯ) หรือไม้เนื้ออ่อนชนิดแข็งอาบน้ำยาครีโอโซต (creosote) หรือโบรอนเพื่อกันปลวกแมลงแทะ ถูกนำมาใช้รองรางรถไฟตั้งแต่ในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน หมอนไม้มีข้อดีคือมีความแข็งแรงพอที่จะถ่ายน้ำหนักขบวนรถลงสู่หินรองราง ตลอดจนมีความอ่อนตัวต่อแรงกระแทก นอกจากนี้ ความที่ไม้เป็นฉนวนไฟฟ้า ก็ทำให้สามารถวางวงจรไฟฟ้าสำหรับติดตามขบวนรถ เมื่อขบวนรถผ่านจะทำให้วงจรต่อครบ แสดงผลออกทางผังบรรยายทาง วงจรชนิดนี้เรียกว่าวงจรไฟตอน
อย่างไรก็ตาม ข้อเสียที่สำคัญของหมอนไม้คือผุง่าย และเมื่อใช้ไปนาน ๆ จานรองรางจะกินลึกเข้าไปในเนื้อไม้ ทำให้ระดับสันรางทรุดตัวลง ต้องเปลี่ยนใหม่ นอกจากนี้ ตะปูยึดรางเมื่อได้รับแรงโยกคลอนของขบวนรถที่วิ่งผ่านมาก ๆ เข้า ก็ทำให้ตะปูหลุด ต้องย้ายไปตอกตำแหน่งใหม่หรือแม้แต่เปลี่ยนหมอน ดังนั้น ในปัจจุบัน จึงมีการใช้หมอนคอนกรีตเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะทนทานกว่าแล้ว ก็ยังรองรับความเร็วขบวนรถที่เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย
หมอนคอนกรีตอัดแรง
ด้วยปัญหาที่มีในหมอนไม้แบบเดิมที่มีมาก และการสงวนพื้นที่ป่าไม้ จึงทำให้มีการพัฒนาหมอนรองรางที่ทำด้วยคอนกรีตอัดแรง ใส่โครงเหล็กไว้ภายใน ซึ่งมีราคาถูกกว่าไม้ และรองรับภาระต่อเพลาได้มากขึ้น ยิ่งไปกว่านั้นการใช้หมอนคอนกรีตอัดแรงกับรางเชื่อมยาวก็ยังสามารถทำให้ความเร็วขบวนรถมีมาก และลดเสียงรบกวนจากการเด้งของรางได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม หมอนคอนกรีตต้องติดตั้งกับหินรองทางที่โรยอย่างหนา และคันทางที่อัดแน่นอย่างดีจึงจะเกิดประสิทธิภาพในการใช้งานสูงสุด
ความคิดเรื่องหมอนคอนกรีตอัดแรงมีมาตั้งแต่ พ.ศ.2420 โดยได้มีการคิดค้นหมอนรองรางที่ทำจากคอนกรีตขึ้น กระนั้นก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จวบจนสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งไม้หาได้ยากขึ้น ทำให้เกิดการพัฒนาหมอนคอนกรีตในยุโรป ยิ่งเพิ่มน้ำหนักของรางและเชื่อมยาวรางให้ติดกันมากขึ้นเท่าใด การผลิตหมอนก็ต้องทำให้มีคุณภาพดีมากขึ้นเท่านั้น ในปัจจุบัน หมอนคอนกรีตมีการใช้แพร่หลายกันในหลายประเทศรวมถึงไทย
หมอนเหล็กกล้า
ในบางกรณี เช่นบนสะพานเหล็ก การรองรับรางรถไฟด้วยหมอนคอนกรีต อาจทำให้หมอนคอนกรีตต้องแตกเสียหายจากแรงสะเทือน จึงต้องใช้หมอนที่ทำจากไม้หรือเหล็กขึ้นเพื่อตัดปัญหาดังกล่าว
ในทางรถไฟสายแยกในประเทศอังกฤษ หมอนรองรางนิยมทำจากเหล็กกล้าเนื่องจากใช้ปริมาณหินรองรางที่น้อยกว่าการใช้หมอนคอนกรีตถึง 60% (น้อยกว่าหมอนไม้ 45%) ตลอดจนสามารถหลอมกลับมาใช้ใหม่ได้
อ้างอิง
แหล่งข้อมูล
- Bonnett, Clifford F. (2005). . Imperial College Press. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-21. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
- Cook, J. H. G. (1988). Institution of Civil Engineers (บ.ก.). Urban Railways and the Civil Engineer. Thomas Telford. ISBN .
- Flint, E. P.; Richards, J. F. (1992). "Contrasting patterns of Shorea exploitation in India and Malaysia in the nineteenth and twentieth centuries". ใน Dargavel, John; Tucker, Richard (บ.ก.). Changing Pacific Forests: Historical Perspectives on the Forest Economy of the Pacific Basin. Duke University Press. ISBN .
- Grant, H. Roger (2005). The Railroad: The Life Story of a Technology. Greenwood Press. ISBN .
- Harper, Charles A. (2002). (4th ed.). McGraw-Hill. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-08-28. สืบค้นเมื่อ 2017-09-10.
- Hay, William Walter (1982). Railroad Engineering. Wiley. ISBN .
- Krylov, Victor V. (2001). Noise and Vibration from High-Speed Trains. Thomas Telford. ISBN .
- La Mantia, Francesco (2002). Handbook of Plastics Recycling. Rapra Technology. ISBN .
- Lancaster, Patricia J. (2001). Construction in Cities: Social, Environmental, Political, and Economic Concerns. CRC Press. ISBN .
- Schut, Jan H. (2004). . Plastics Technology. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-31. สืบค้นเมื่อ 2007-11-05.
อ่านเพิ่ม
- Kaewunruen, Sakdirat (2008). Dynamic properties of railway track and its components, Chapter 5 in: New Research on Acoustics. Nova Sciences. ISBN .
- Oaks, Jeff (2006). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-21. สืบค้นเมื่อ 2007-11-03.
- Remennikov, Alex M.; Sakdirat Kaewunruen (August 17, 2007). "A review on loading conditions for railway track structures due to train and track vertical interaction". Structural Control and Health Monitoring. . 15 (2): 281–288. doi:10.1002/stc.227. S2CID 110498984.
- Taylor, H.P. (August 17, 1993). "The railway sleeper: 50 years of pretensions, prestressed concrete". The Structural Engineer. . 71 (16): 281–288.
- Smith, Mike (2005). . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-18. สืบค้นเมื่อ 2007-11-05.
- Vickers, R. A., บ.ก. (1992). Cost-effective maintenance of railway track. Thomas Telford. ISBN .
- Wood, Alan Muir (2004). Civil Engineering in Context. Thomas Telford. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ หมอนรองรางรถไฟ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmxnrxngrang phasaxngkvsaebbbritich railroad sleeper phasaxngkvsaebbxemrikn railroad tie epnxupkrnsahrbichyudcbrangrthifihxyukbthi chwyihkhxbrangthngsxngesnmirayathiethakn aelachwythayethnahnklngsuhinhruxwsdurxngrang hmxnrxngrangrthifniymthacakimenuxaekhng hruxkhxnkritxdaerng inbangkhrngxaccathacakehlkklakhunrupkid hmxnaetlachnidtangehmaasmkbkarichthiaetktangknkhux hmxnimsamarthichrxngrangidthwipthngthangpktiaelasaphan aetpccubnniymichrxngcudthirangsxngesntxkn swnhmxnehlk niymichbnsaphanehlkodyechphaa tam hmxnkhxnkritthicanamaich txngidrbkarthdsxbthngindankhwamthnthantxkarkddn tlxdcnkhwamtanthaniffathixaccaldcakrangesnhnungiphaxikesnhnungid ephuxihsamarthichrabbwngcriftxn track circuit idodyimmipyhakarcaaenkchnidhmxnim hmxnimaelaekhruxngyudehniywrang hmxnim thacakimenuxaekhng echn imetng immakha l hruximenuxxxnchnidaekhngxabnayakhrioxost creosote hruxobrxnephuxknplwkaemlngaetha thuknamaichrxngrangrthiftngaetinxditmacnthungpccubn hmxnimmikhxdikhuxmikhwamaekhngaerngphxthicathaynahnkkhbwnrthlngsuhinrxngrang tlxdcnmikhwamxxntwtxaerngkraaethk nxkcakni khwamthiimepnchnwniffa kthaihsamarthwangwngcriffasahrbtidtamkhbwnrth emuxkhbwnrthphancathaihwngcrtxkhrb aesdngphlxxkthangphngbrryaythang wngcrchnidnieriykwawngcriftxn xyangirktam khxesiythisakhykhxnghmxnimkhuxphungay aelaemuxichipnan canrxngrangcakinlukekhaipinenuxim thaihradbsnrangthrudtwlng txngepliynihm nxkcakni tapuyudrangemuxidrbaerngoykkhlxnkhxngkhbwnrththiwingphanmak ekha kthaihtapuhlud txngyayiptxktaaehnngihmhruxaemaetepliynhmxn dngnn inpccubn cungmikarichhmxnkhxnkritephimmakkhun sungnxkcakcathnthankwaaelw kyngrxngrbkhwamerwkhbwnrththiephimmakkhunxikdwy hmxnkhxnkritxdaerng hmxnkhxnkrit dwypyhathimiinhmxnimaebbedimthimimak aelakarsngwnphunthipaim cungthaihmikarphthnahmxnrxngrangthithadwykhxnkritxdaerng isokhrngehlkiwphayin sungmirakhathukkwaim aelarxngrbpharatxephlaidmakkhun yingipkwannkarichhmxnkhxnkritxdaerngkbrangechuxmyawkyngsamarththaihkhwamerwkhbwnrthmimak aelaldesiyngrbkwncakkaredngkhxngrangidxikdwy xyangirktam hmxnkhxnkrittxngtidtngkbhinrxngthangthioryxyanghna aelakhnthangthixdaennxyangdicungcaekidprasiththiphaphinkarichngansungsud khwamkhideruxnghmxnkhxnkritxdaerngmimatngaet ph s 2420 odyidmikarkhidkhnhmxnrxngrangthithacakkhxnkritkhun krannkyngimepnthiaephrhlaynk cwbcnsngkhramolkkhrngthisxng sungimhaidyakkhun thaihekidkarphthnahmxnkhxnkritinyuorp yingephimnahnkkhxngrangaelaechuxmyawrangihtidknmakkhunethaid karphlithmxnktxngthaihmikhunphaphdimakkhunethann inpccubn hmxnkhxnkritmikarichaephrhlaykninhlaypraethsrwmthungithy hmxnehlkkla hmxnehlkkla inbangkrni echnbnsaphanehlk karrxngrbrangrthifdwyhmxnkhxnkrit xacthaihhmxnkhxnkrittxngaetkesiyhaycakaerngsaethuxn cungtxngichhmxnthithacakimhruxehlkkhunephuxtdpyhadngklaw inthangrthifsayaeykinpraethsxngkvs hmxnrxngrangniymthacakehlkklaenuxngcakichprimanhinrxngrangthinxykwakarichhmxnkhxnkritthung 60 nxykwahmxnim 45 tlxdcnsamarthhlxmklbmaichihmidxangxingsanknganmatrthanphlitphnthxutsahkrrm 14 kumphaphnth 2554 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 07 22 subkhnemux 2012 10 18 Crossties Crossties Paterson New Jersey Railway Tie Association March April 2010 ISSN 0097 4536 OCLC 1565511 Hay 1982 p 470aehlngkhxmulBonnett Clifford F 2005 Imperial College Press ISBN 1 86094 515 5 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 21 subkhnemux 2017 09 10 Cook J H G 1988 Institution of Civil Engineers b k Urban Railways and the Civil Engineer Thomas Telford ISBN 0 7277 1337 X Flint E P Richards J F 1992 Contrasting patterns of Shorea exploitation in India and Malaysia in the nineteenth and twentieth centuries in Dargavel John Tucker Richard b k Changing Pacific Forests Historical Perspectives on the Forest Economy of the Pacific Basin Duke University Press ISBN 0 8223 1263 8 Grant H Roger 2005 The Railroad The Life Story of a Technology Greenwood Press ISBN 0 313 33079 4 Harper Charles A 2002 4th ed McGraw Hill ISBN 0 07 138476 6 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 08 28 subkhnemux 2017 09 10 Hay William Walter 1982 Railroad Engineering Wiley ISBN 0 471 36400 2 Krylov Victor V 2001 Noise and Vibration from High Speed Trains Thomas Telford ISBN 0 7277 2963 2 La Mantia Francesco 2002 Handbook of Plastics Recycling Rapra Technology ISBN 1 85957 325 8 Lancaster Patricia J 2001 Construction in Cities Social Environmental Political and Economic Concerns CRC Press ISBN 0 8493 7486 3 Schut Jan H 2004 Plastics Technology khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 01 31 subkhnemux 2007 11 05 xanephimKaewunruen Sakdirat 2008 Dynamic properties of railway track and its components Chapter 5 in New Research on Acoustics Nova Sciences ISBN 978 1 60456 403 7 Oaks Jeff 2006 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 04 21 subkhnemux 2007 11 03 Remennikov Alex M Sakdirat Kaewunruen August 17 2007 A review on loading conditions for railway track structures due to train and track vertical interaction Structural Control and Health Monitoring 15 2 281 288 doi 10 1002 stc 227 S2CID 110498984 Taylor H P August 17 1993 The railway sleeper 50 years of pretensions prestressed concrete The Structural Engineer 71 16 281 288 Smith Mike 2005 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 09 18 subkhnemux 2007 11 05 Vickers R A b k 1992 Cost effective maintenance of railway track Thomas Telford ISBN 0 7277 1930 0 Wood Alan Muir 2004 Civil Engineering in Context Thomas Telford ISBN 0 7277 3257 9 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb hmxnrxngrangrthif