หนังสือปัญญาจารย์ (อังกฤษ: Ecclesiastes) เป็นหนังสือในคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม เป็นลำดับที่ 4 ในหมวด
ผู้เขียนปัญญาจารย์กล่าวถึงตนเพียงว่าเป็นบุตรของ กษัตริย์ดาวิด ของชนชาติอิสราเอลในนครเยรูซาเลม คริสต์ศาสนาเชื่อว่าเป็นกษัตริย์ซาโลมอน
เนื้อหากล่าวถึง ชีวประวัติและประสบการณ์ในชีวิตที่วางใจในพระเจ้า ประกอบด้วย และ แต่ละประโยคสะท้อนให้เห็นถึง ความหมายของชีวิตและวิธีดำเนินชีวิตอย่างดีที่สุด เน้นถึงกิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ล้วนไร้ค่าไม่มีความหมายใด ล้วนจบลงด้วยความตาย จึงเตือนสติให้แสวงหาสติปัญญา จากพระเจ้า เพื่อเป็นเส้นทางในการดำเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ผู้เขียนไม่ได้ชี้ชัดถึงความหมายของชีวิตนิรันดร์ แต่แนะนำให้พอใจในสิ่งที่พระเจ้าประทานให้ในสรรพสิ่งกิจวัตรประจำวัน เช่น หน้าที่ การงาน อาหาร และทรัพย์สินที่ได้โดยชอบธรรม
สรุปเนื้อหา
พระธรรมปัญญาจารย์เน้นถึง "ความเป็นอนิจจังของทุกสิ่งภายใต้แสงตะวัน" ควรละทิ้งการแสวงหาความพอใจทางกาย และให้มุ่งหน้าประกอบกิจที่ให้ผลประโยชน์ในสิ่งที่เหนือตะวันคือสวรรค์ ซึ่งสรุปได้ในสองประโยคสุดท้ายว่า
"ให้เราฟังข้อสรุปความจากทั้งสิ้นแล้ว คือจงยำเกรงพระเจ้า และรักษาพระบัญญัติของพระองค์ เพราะนี่แหละเป็นหน้าที่ทั้งสิ้นของมนุษย์ ด้วยว่าพระเจ้าทรงเอาการงานทุกประการ เข้าสู่ พร้อมด้วยสิ่งเร้นลับทุกอย่าง ไม่ว่าดีและชั่ว"
ในประเพณีของชาวอิสราเอล พระธรรมปัญญาจารย์อ่านในวันแห่งการพักผ่อนและวันฉลอง เพื่อเป็นการเตือนถึงชีวิตไม่ให้ยึดกับความสำราญมากนัก
สรุปตามบท
บทที่ 1-3 กล่าวถึง อนิจจังของทุกสิ่งในโลก ตราบใดที่มนุษย์ยังอยู่ภายใต้แสงตะวัน ต้องอยู่กับความไม่แน่นอนของโลก การงาน และปัญญาที่ได้ทุ่มเทลงไปอย่างตรากตรำ ท้ายที่สุดก็เป็นการไร้สาระ คนรุ่นต่อไปก็แสวงหาการงาน และปัญญา ต่อไป โดยไม่ได้ให้ความสนใจต่อกิจของคนรุ่นก่อน คนที่ฉลาดกว่าและเก่งกว่ามาแทนที่ ความสำราญเป็นอนิจจัง ซาโลมอนลองใช้ชีวิตแสวงหาความรื่นรมณ์ของชีวิต แต่ก็พบว่าเป็นความสุขเพียงชั่วคราว มีฤดูกาลสำหรับทุกสิ่ง มีวาระสำหรับเรื่องราวทุกอย่าง วาระที่เกิดใหม่และสูญไปของสรรพสิ่งทางโลก
"ปัญญาจารย์กล่าวว่า อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง อนิจจัง สารพัดอนิจจัง"
บทที่ 4-8 กล่าวถึง อุปสรรคและความไม่ยุติธรรมของโลก ผู้ที่ถูกข่มเหง ผู้ตกยาก อุปสรรคจากความชั่วร้ายของมนุษย์ เป็นสิ่งที่หลีกไม่ได้ ซาโลมอนแนะนำให้ทำภารกิจของแต่ละคนด้วยความตั้งใจ และไม่เปรียบเทียบชีวิตตนกับผู้อื่น อย่าเป็นคนเขลาในการใช้วาจา ให้สละความเห็นแก่ตน ละที้งความทะเยอทะยาน อย่าเป็นคนโลภที่ไม่สิ้นสุด หน้าที่ของผู้ที่มีปัญญาและทรัพย์สินมาก คือเขาต้องทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม อนิจจังของความมั่งมี ของผู้สูงอายุ ผู้ไม่มีความพอใจ และผู้ที่โอ้อวด บุคคลเหล่านี้ต้องประสพกับหายนะ และความทุกข์ ถ้าเขาเป็นคนสามานย์ เห็นแก่ตน สอนถึงให้แสวงหาบทเรียนของชีวิต ได้จากประสบการณ์ จากอุปสรรค ความยากลำบากทำให้มนุษย์รู้จักปรับปรุงตนเอง
"ฟังคำตำหนิของคนที่มีสติปัญญา ดีกว่าฟังเพลงร้องของคนเขลา"
บทที่ 9-12 กล่าวถึง หลักการในการดำเนินชีวิต โดยไม่ปักใจกับสรรพสิ่งและความเปลี่ยนแปลงของโลก ระวังวาจาและการกระทำ อย่าเป็นคนเขลา และอย่าเป็นผู้นำที่ไร้ความสามารถ ทำบุญกุศลและมีเมตตาไปตามสภาพและฐานะของแต่ละคน เพราะนอกจากเป็นหน้าที่ที่ต้องช่วยเหลือผู้ด้อยกว่าในสังคมแล้ว ยังเป็นผลบุญที่เก็บเกี่ยวในยามสูญชีวิตไป อย่าหลงใหลกับความสำราญชั่วคราวของโลก แต่จงเตรียมชีวิตและวิญญาณไว้ให้พร้อมเสมอ โดยยำเกรงในกฎของพระเจ้า
บทวิเคราะห์
ผู้เขียนและอรรถาธิบายทางประวัติศาสตร์
ผู้เขียนแนะนำตนเองว่าเป็นผู้มีปัญญาปราชญ์เปรื่อง และเป็นบุตรของกษัตริย์ดาวิดแห่งอิสราเอล คือกษัตริย์ซาโลมอน ก่อน หลังจากซาโลมอนอาณาจักรได้แยกเป็นสองส่วน อิสราเอลทางเหนือ และยูดาทางใต้ ซึ่งอยู่ครอบครองของรัชทายาทจากซาโลมอน
อย่างไรก็ตาม ชาวคริสต์และยิวเชื่อกันทั่วไปว่า กษัตริย์ซาโลมอนเป็นผู้เขียนเอง เพราะเนื้อหาจากคัมภีร์กล่าวว่า ไม่มีใครมีพระปัญญาที่เสมอเหมือนท่าน เพราะพระเจ้าประทานพรพิเศษให้แก่ซาโลมอน มีราชอาณาจักรที่ก้าวหน้าทางความเจริญรุ่งโรจน์กว่าแคว้นใด และท่านเขียนพระธรรมนี้ในบั้นปลายชีวิต หลังจากใช้ชีวิตฟุ่มเฟื่อยสร้างสิ่งต่าง ๆ เช่น พระวิหารเยรูซาเลมที่ยิ่งใหญ่ มหาราชวังหลายแห่ง มหาวิทยาลัย ฯลฯ ท่านแสวงหาความรู้ ตลอดมาและความสามารถเป็นที่ลือชื่อในอิสราเอลและประเทศอื่น แต่ทั้งสมบัติและความรู้ ไม่ได้ทำให้เป็นสุข เมื่อคำนึงได้ว่า ทุกอย่างของโลกเป็นสิ่งอนิจจัง จึงเขียนพระธรรมปัญญาจารย์เพื่อเตือน บุคคลชาวยิวไม่ให้สนใจในทางโลก แต่ควรประพฤติดีงามเพื่อรางวัลที่ได้รับจากพระเจ้า
ปัจจุบันนักศึกษาทางคัมภีร์และเทววิทยา ตั้งข้อสงสัยในผู้เขียน โดยอ้างว่าปัญญาจารย์อาจเป็นผลงานของนักประพันธ์นิรนาม ที่เขียนวรรณคดีและบทประพันธ์ทางศาสนาศาสตร์ของยิวขึ้นเอง แล้วลงนามว่าเป็นผลงานของบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์เป็นผู้เขียน ซึ่งปฏิบัติแพร่หลายในวรรณกรรมของชนชาติยูดาย ในระยะ 250 ปีก่อนคริสตกาล จนถึง 200 ปีก่อนคริสตกาล
โดยสันนิษฐาณว่าเขียนในยุคของ สร้างพระวิหารเยรูซาเลมครั้งที่สอง ซึ่งชาวยิวตกเป็นเชลยของชนชาติเปอร์เชีย ในระหว่าง 536 ปีก่อนคริสตกาล กรุงเยรูซาเลมที่กษัตริย์ซาโลมอนสร้างไว้ถูกทำลายเสียสิ้น จากการแผ่อำนาจของกษัตริย์ของและกวาดต้อนชาวยิวเป็นเชลยและทาสแรงงานในบาบิโลน นครหลวงของเปอร์เชีย
พระวิหารเยรูซาเลมครั้งที่สอง เริ่มสร้างในสมัยของกษัตริย์ไซปรัสของเปอร์เชีย เป็นผู้เริ่มก่อสร้างพระวิหาร และสำเร็จมาในสมัยของกษัตริย์ดาริอัสที่ยิ่งใหญ่ (515 ปีก่อนคริสตกาล) การสร้างพระวิหารนี้เพื่อสนองพระเกียรติให้พระเจ้าของผู้พยากรณ์ [ดาเนียล] ที่ช่วยแปลความหมายให้กษัตริย์เปอร์เชียได้พ้นภัย
นักวิจารณ์ให้ความเห็นว่า ผลงานปัญญาจารย์ อาจเขียนในระยะที่อาณาจักรเปอร์เซียครองอำนาจ ซึ่งเป็นระยะประมาณ 250 ปีภายหลังกษัตริย์ซาโลมอนครองราชย์ และวิธีการเขียนแบ่งเป็นสองภาค ทั้งการบรรยาย และแบบกวีนิพนธ์ ซึ่งนักวิจารณ์ลงความเห็นว่า อาจเป็นผลงานของนักประพันธ์สองท่าน
นักปรัชญาและศาสนาศาสตร์ ชาวออสเตรียชื่อ Nachman Krochmal (1785-1840) เห็นพ้องว่าผู้เขียนแท้จริง มิใช่กษัตริย์ซาโลมอน แต่เป็นกวีชาวเปอร์เชีย เขียนในระหว่างอาณาจักรเปอร์เชียเรืองอำนาจ อาจเป็นบุคคลในพระราชสำนัก หรือกษัตริย์หัวเมืองที่ได้รับอำนาจไปครองไว้ ในยุคที่ชาวอิสราเอลตกเป็นเชลยแก่เปอร์เชีย
ภาษาที่ใช้ประพันธ์และข้อวิจารณ์
พระธรรมปัญญาจารย์เขียนด้วย ภาษาฮีบรูของชนชาติยิว แต่เห็นได้ว่ายังมีศัพท์จากภาษาอื่นปะปนบ้าง มีศัพท์สองคำ และหลายคำเป็นภาษาอะราเมอิก ซึ่งเป็นภาษาโบราณกว่า 3,000 ปี ในกลุ่มใช้ในพระราชสำนักและในโดยเฉพาะ เป็นภาษาที่ใช้ในตะวันออกกลาง ปัจจุบันใช้ในประเทศอาหรับ เช่น อิสราเอล และปาเลสไตน์
ในสมัยต้นของอาณาจักรอิสราเอล ยังไม่ได้รับอิทธิพลทางภาษาอะราเมอิก กระทั่งอิสราเอลได้ตกเป็นเชลยของชนชาติอี่น จึงมีการพูดและเขียนทางอะราเมอิกมากขึ้น เช่น พระธรรมดาเนียลเขียนโดย ดาเนียล ป็นภาษาอะราเมอิกมาก เพราะตกเป็นเชลยและทำงานในพระราชสำนักของเปอร์เชีย แต่ในสมัยของซาโลมอนยังไม่ได้อิทธิพลจากภาษาอะราเมอิก จึงคาดว่าปัญญาจารย์อาจไม่ได้ประพันธ์ในระยะอิสราเอลตอนต้น เพราะภาษาเขียนแบบฮีบรูไม่ได้เป็นสิ่งแพร่หลายในยุคของกษัตริย์ซาโลมอน
อิทธิพลต่อวรรณกรรมอื่น
สถาบันของนิกายโรมันคาทอลิกและออร์โธด็อกซ์ พิจารณาลงความเห็นตรงกันว่า ควรเพิ่มประโยคสำคัญ และเพิ่มเติมฉบับอื่น ๆ ของคัมภีร์ โดยนำมาบรรจุรวมไว้เป็น แบบฉบับสมบูรณ์เล่มใหม่ของคัมภีร์ของศาสนาคริสต์ เป็นการรวบรวมวรรณกรรมทางศาสนาบรรจุเป็นเล่มครั้งที่สอง ที่ต่างจากฉบับแรกที่ได้มาจากคัมภีร์ของฮีบรู ข้อความและวรรณกรรมบรรจุใหม่เหล่านี้ บางนิกายของคริสต์ศาสนายอมรับแต่บางนิกายปฏิเสธว่าไม่ได้เป็นคำสอนของพระเจ้า เช่น Wisdom of Solomom และThe Story of Susanna เป็นต้น
คัมภีร์ของ นิกายโปรเตสแตนต์ไม่ได้บ่งชัดว่า ส่วนใดมาจากการบรรจุรุ่นแรกหรือรุ่นที่สอง วรรณกรรมทางคริสต์ศาสนายังแบ่งเป็นภาคพระพันธสัญญาเดิมและพระพันธสัญญาใหม่ แต่คัมภีร์บางฉบับที่พิมพ์ใหม่เพื่อการศึกษา ได้รวมวรรณกรรมและประโยคที่บรรจุในครั้งที่สองเป็นภาคพิเศษ เรียกว่า Opacryppha ซึ่งเป็นศัพท์มาจากกรีก แปลว่า "สิ่งที่ซ่อนไว้" คือการเปิดเผยคำสอนของพระเจ้าที่เดิมได้ปิดบังไว้
พระธรรมปัญญาจารย์ ได้มีอิทธิพลต่อวรรณกรรมอื่น ๆ ที่เห็นได้ชัดคือ ปัญญาของซาโลมอน Wisdom of Solomon และ Ben Sirah วรรณกรรมทั้งสองฉบับนี้ บางนิกายยอมรับเป็นคัมภีร์ แต่บางนิกายปฏิเสธ วรรณกรรมทั้งสองนี้ได้ยึดหลักของ "ความอนิจจังของโลก" ตามแบบอย่างที่เป็นปัจจัยในพระธรรมปัญญาจารย์ โดยเปรียบเทียบใจความในวรรณกรรมได้ เช่น
"ใครคนใดรู้ได้ว่า สิ่งใดเป็นสิ่งที่ดีสำหรับมนุษย์ในชีวิตนี้ คือในระยะวันเดือนปีทั้งหลายแหล่แห่งชีวิตอันเหลว ๆ ของตนเอง ที่ได้สูญไปดุจดังเงา ใครผู้ใดบอกกับมนุษย์ว่า สิ่งเหล่านั้นเกิดขึ้นภายหลังความตายของตน ภายใต้ดวงตะวัน" ..(ปัญญาจารย์3;19)" เหตุการณ์ของบุตรทั้งหลายของมนุษย์ กับเหตุการณ์ของสัตว์เดรัจฉานนั้นเหมือนกัน คือเป็นเหตุการณ์อันเดียวกัน ฝ่ายหนึ่งตาย อีกฝ่ายหนึ่งก็ตายเหมือนกัน ทั้งสองมีลมหายใจอย่างเดียวกัน และมนุษย์ไม่มีอะไรดีกว่าสัตว์เดรัจฉาน เพราะสารพัดคืออนิจจัง"
"ผู้อธรรมให้เหตุผลปลอบใจตนเองว่า ไม่เป็นไร ชีวิตมนุษย์แสนสั้นและน่าเบื่อหน่าย ความตายมาถึงเราแก้ไขไม่ได้ มีใครบ้างไหมที่รู้จัก คนตายแล้วกลับคืนชีพจากหลุมศพ"
"และข้าพเจ้าตั้งใจเสาะแสวงหาปัญญา และสิ่งสารพัดที่กระทำได้ภายใต้ฟ้า และเห็นว่าเป็นความยากลำบาก ที่พระเจ้าประทานให้บุตรมนุษย์ทำกันอยู่"
"อย่าแสวงหาสิ่งที่ยากลำบากเกินไป อย่าเสาะหาสิ่งที่เกินความสามารถของตน สิ่งที่ควรกระทำคือใช้พิจารณญาณด้วยความเคารพนับถือ เพราะท่านไม่จำต้องเข้าใจและเห็นทุกอย่างในสิ่งที่เป็นความลับ เพราะมีสิ่งอี่น ๆ อีกมากที่ได้ปรากฏขึ้นเกินกว่ามนุษย์เข้าใจได้"
อ้างอิง
- Matthew Henry Concise Commentary :Ecclesiastes.
- Ecclesiastes at WiKisourse (King James Version)
- คัมภีร์ภาคพระพันธสัญญาเดิม. ปัญญาจารย์
- A Metaphrase of The Book of Ecclesiastes. by Gregory Thaumaturgus.
- Richard Bauckham. " Pseudo-Apostolic Letters". Journal of Biblical Literature.Vol7.No3. september 1988.
- Nachman Krochmal. Wikipedia English Language.
- Jewish Encyclopedia. Ecclesiastes ( Kohelet).
- William macDonald " Ecclesiastes An Overview.
- Commentary on Ecclesiates by F.C Jennings.
- Catholic Encyclopedia: Book Of Wisdom.
- The New John Gill Exposition of The Entire Bible."Ecclesiastes"
- ปัญญาจารย์ 12:13-14
- ปัญญาจารย์ 1: 2
- ปัญญาจารย์ 7: 5
- พระธรรมปัญญาจารย์ 6: 12
- ปัญญา ของซาโลมอน 2: 1
- ปัญญาจารย์ 1: 13
- บุตรสิรา 3:21
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hnngsuxpyyacary xngkvs Ecclesiastes epnhnngsuxinkhmphir phakhphnthsyyaedim epnladbthi 4 inhmwd phuekhiynpyyacaryklawthungtnephiyngwaepnbutrkhxng kstriydawid khxngchnchatixisraexlinnkhreyrusaelm khristsasnaechuxwaepnkstriysaolmxn enuxhaklawthung chiwprawtiaelaprasbkarninchiwitthiwangicinphraeca prakxbdwy aela aetlapraoykhsathxnihehnthung khwamhmaykhxngchiwitaelawithidaeninchiwitxyangdithisud ennthungkickrrmthukxyangkhxngmnusy lwnirkhaimmikhwamhmayid lwncblngdwykhwamtay cungetuxnstiihaeswnghastipyya cakphraeca ephuxepnesnthanginkardaeninchiwitxyangthuktxng phuekhiynimidchichdthungkhwamhmaykhxngchiwitnirndr aetaenanaihphxicinsingthiphraecaprathanihinsrrphsingkicwtrpracawn echn hnathi karngan xahar aelathrphysinthiidodychxbthrrmsrupenuxhaphrathrrmpyyacaryennthung khwamepnxniccngkhxngthuksingphayitaesngtawn khwrlathingkaraeswnghakhwamphxicthangkay aelaihmunghnaprakxbkicthiihphlpraoychninsingthiehnuxtawnkhuxswrrkh sungsrupidinsxngpraoykhsudthaywa iherafngkhxsrupkhwamcakthngsinaelw khuxcngyaekrngphraeca aelarksaphrabyytikhxngphraxngkh ephraaniaehlaepnhnathithngsinkhxngmnusy dwywaphraecathrngexakarnganthukprakar ekhasu phrxmdwysingernlbthukxyang imwadiaelachw inpraephnikhxngchawxisraexl phrathrrmpyyacaryxaninwnaehngkarphkphxnaelawnchlxng ephuxepnkaretuxnthungchiwitimihyudkbkhwamsaraymaknk sruptambth bththi 1 3 klawthung xniccngkhxngthuksinginolk trabidthimnusyyngxyuphayitaesngtawn txngxyukbkhwamimaennxnkhxngolk karngan aelapyyathiidthumethlngipxyangtraktra thaythisudkepnkarirsara khnruntxipkaeswnghakarngan aelapyya txip odyimidihkhwamsnictxkickhxngkhnrunkxn khnthichladkwaaelaekngkwamaaethnthi khwamsarayepnxniccng saolmxnlxngichchiwitaeswnghakhwamrunrmnkhxngchiwit aetkphbwaepnkhwamsukhephiyngchwkhraw mivdukalsahrbthuksing miwarasahrberuxngrawthukxyang warathiekidihmaelasuyipkhxngsrrphsingthangolk pyyacaryklawwa xniccng xniccng xniccng xniccng sarphdxniccng bththi 4 8 klawthung xupsrrkhaelakhwamimyutithrrmkhxngolk phuthithukkhmehng phutkyak xupsrrkhcakkhwamchwraykhxngmnusy epnsingthihlikimid saolmxnaenanaihthapharkickhxngaetlakhndwykhwamtngic aelaimepriybethiybchiwittnkbphuxun xyaepnkhnekhlainkarichwaca ihslakhwamehnaektn lathingkhwamthaeyxthayan xyaepnkhnolphthiimsinsud hnathikhxngphuthimipyyaaelathrphysinmak khuxekhatxngthanganephuxpraoychnswnrwm xniccngkhxngkhwammngmi khxngphusungxayu phuimmikhwamphxic aelaphuthioxxwd bukhkhlehlanitxngprasphkbhayna aelakhwamthukkh thaekhaepnkhnsamany ehnaektn sxnthungihaeswnghabtheriynkhxngchiwit idcakprasbkarn cakxupsrrkh khwamyaklabakthaihmnusyruckprbprungtnexng fngkhatahnikhxngkhnthimistipyya dikwafngephlngrxngkhxngkhnekhla bththi 9 12 klawthung hlkkarinkardaeninchiwit odyimpkickbsrrphsingaelakhwamepliynaeplngkhxngolk rawngwacaaelakarkratha xyaepnkhnekhla aelaxyaepnphunathiirkhwamsamarth thabuykuslaelamiemttaiptamsphaphaelathanakhxngaetlakhn ephraanxkcakepnhnathithitxngchwyehluxphudxykwainsngkhmaelw yngepnphlbuythiekbekiywinyamsuychiwitip xyahlngihlkbkhwamsaraychwkhrawkhxngolk aetcngetriymchiwitaelawiyyaniwihphrxmesmx odyyaekrnginkdkhxngphraecabthwiekhraahphuekhiynaelaxrrthathibaythangprawtisastr phuekhiynaenanatnexngwaepnphumipyyaprachyepruxng aelaepnbutrkhxngkstriydawidaehngxisraexl khuxkstriysaolmxn kxn hlngcaksaolmxnxanackridaeykepnsxngswn xisraexlthangehnux aelayudathangit sungxyukhrxbkhrxngkhxngrchthayathcaksaolmxn xyangirktam chawkhristaelayiwechuxknthwipwa kstriysaolmxnepnphuekhiynexng ephraaenuxhacakkhmphirklawwa immiikhrmiphrapyyathiesmxehmuxnthan ephraaphraecaprathanphrphiessihaeksaolmxn mirachxanackrthikawhnathangkhwamecriyrungorcnkwaaekhwnid aelathanekhiynphrathrrmniinbnplaychiwit hlngcakichchiwitfumefuxysrangsingtang echn phrawihareyrusaelmthiyingihy mharachwnghlayaehng mhawithyaly l thanaeswnghakhwamru tlxdmaaelakhwamsamarthepnthiluxchuxinxisraexlaelapraethsxun aetthngsmbtiaelakhwamru imidthaihepnsukh emuxkhanungidwa thukxyangkhxngolkepnsingxniccng cungekhiynphrathrrmpyyacaryephuxetuxn bukhkhlchawyiwimihsnicinthangolk aetkhwrpraphvtidingamephuxrangwlthiidrbcakphraeca pccubnnksuksathangkhmphiraelaethwwithya tngkhxsngsyinphuekhiyn odyxangwapyyacaryxacepnphlngankhxngnkpraphnthnirnam thiekhiynwrrnkhdiaelabthpraphnththangsasnasastrkhxngyiwkhunexng aelwlngnamwaepnphlngankhxngbukhkhlsakhythangprawtisastrepnphuekhiyn sungptibtiaephrhlayinwrrnkrrmkhxngchnchatiyuday inraya 250 pikxnkhristkal cnthung 200 pikxnkhristkal odysnnisthanwaekhiyninyukhkhxng srangphrawihareyrusaelmkhrngthisxng sungchawyiwtkepnechlykhxngchnchatiepxrechiy inrahwang 536 pikxnkhristkal krungeyrusaelmthikstriysaolmxnsrangiwthukthalayesiysin cakkaraephxanackhxngkstriykhxngaelakwadtxnchawyiwepnechlyaelathasaerngnganinbabioln nkhrhlwngkhxngepxrechiy phrawihareyrusaelmkhrngthisxng erimsranginsmykhxngkstriyisprskhxngepxrechiy epnphuerimkxsrangphrawihar aelasaercmainsmykhxngkstriydarixsthiyingihy 515 pikxnkhristkal karsrangphrawiharniephuxsnxngphraekiyrtiihphraecakhxngphuphyakrn daeniyl thichwyaeplkhwamhmayihkstriyepxrechiyidphnphy nkwicarnihkhwamehnwa phlnganpyyacary xacekhiyninrayathixanackrepxresiykhrxngxanac sungepnrayapraman 250 piphayhlngkstriysaolmxnkhrxngrachy aelawithikarekhiynaebngepnsxngphakh thngkarbrryay aelaaebbkwiniphnth sungnkwicarnlngkhwamehnwa xacepnphlngankhxngnkpraphnthsxngthan nkprchyaaelasasnasastr chawxxsetriychux Nachman Krochmal 1785 1840 ehnphxngwaphuekhiynaethcring miichkstriysaolmxn aetepnkwichawepxrechiy ekhiyninrahwangxanackrepxrechiyeruxngxanac xacepnbukhkhlinphrarachsank hruxkstriyhwemuxngthiidrbxanacipkhrxngiw inyukhthichawxisraexltkepnechlyaekepxrechiy phasathiichpraphnthaelakhxwicarn phrathrrmpyyacaryekhiyndwy phasahibrukhxngchnchatiyiw aetehnidwayngmisphthcakphasaxunpapnbang misphthsxngkha aelahlaykhaepnphasaxaraemxik sungepnphasaobrankwa 3 000 pi inklumichinphrarachsankaelainodyechphaa epnphasathiichintawnxxkklang pccubnichinpraethsxahrb echn xisraexl aelapaelsitn insmytnkhxngxanackrxisraexl yngimidrbxiththiphlthangphasaxaraemxik krathngxisraexlidtkepnechlykhxngchnchatixin cungmikarphudaelaekhiynthangxaraemxikmakkhun echn phrathrrmdaeniylekhiynody daeniyl pnphasaxaraemxikmak ephraatkepnechlyaelathanganinphrarachsankkhxngepxrechiy aetinsmykhxngsaolmxnyngimidxiththiphlcakphasaxaraemxik cungkhadwapyyacaryxacimidpraphnthinrayaxisraexltxntn ephraaphasaekhiynaebbhibruimidepnsingaephrhlayinyukhkhxngkstriysaolmxnxiththiphltxwrrnkrrmxunsthabnkhxngnikayormnkhathxlikaelaxxrothdxks phicarnalngkhwamehntrngknwa khwrephimpraoykhsakhy aelaephimetimchbbxun khxngkhmphir odynamabrrcurwmiwepn aebbchbbsmburnelmihmkhxngkhmphirkhxngsasnakhrist epnkarrwbrwmwrrnkrrmthangsasnabrrcuepnelmkhrngthisxng thitangcakchbbaerkthiidmacakkhmphirkhxnghibru khxkhwamaelawrrnkrrmbrrcuihmehlani bangnikaykhxngkhristsasnayxmrbaetbangnikayptiesthwaimidepnkhasxnkhxngphraeca echn Wisdom of Solomom aelaThe Story of Susanna epntn khmphirkhxng nikayopretsaetntimidbngchdwa swnidmacakkarbrrcurunaerkhruxrunthisxng wrrnkrrmthangkhristsasnayngaebngepnphakhphraphnthsyyaedimaelaphraphnthsyyaihm aetkhmphirbangchbbthiphimphihmephuxkarsuksa idrwmwrrnkrrmaelapraoykhthibrrcuinkhrngthisxngepnphakhphiess eriykwa Opacryppha sungepnsphthmacakkrik aeplwa singthisxniw khuxkarepidephykhasxnkhxngphraecathiedimidpidbngiw phrathrrmpyyacary idmixiththiphltxwrrnkrrmxun thiehnidchdkhux pyyakhxngsaolmxn Wisdom of Solomon aela Ben Sirah wrrnkrrmthngsxngchbbni bangnikayyxmrbepnkhmphir aetbangnikayptiesth wrrnkrrmthngsxngniidyudhlkkhxng khwamxniccngkhxngolk tamaebbxyangthiepnpccyinphrathrrmpyyacary odyepriybethiybickhwaminwrrnkrrmid echn ikhrkhnidruidwa singidepnsingthidisahrbmnusyinchiwitni khuxinrayawneduxnpithnghlayaehlaehngchiwitxnehlw khxngtnexng thiidsuyipducdngenga ikhrphuidbxkkbmnusywa singehlannekidkhunphayhlngkhwamtaykhxngtn phayitdwngtawn pyyacary3 19 ehtukarnkhxngbutrthnghlaykhxngmnusy kbehtukarnkhxngstwedrcchannnehmuxnkn khuxepnehtukarnxnediywkn fayhnungtay xikfayhnungktayehmuxnkn thngsxngmilmhayicxyangediywkn aelamnusyimmixairdikwastwedrcchan ephraasarphdkhuxxniccng phuxthrrmihehtuphlplxbictnexngwa imepnir chiwitmnusyaesnsnaelanaebuxhnay khwamtaymathungeraaekikhimid miikhrbangihmthiruck khntayaelwklbkhunchiphcakhlumsph aelakhaphecatngicesaaaeswnghapyya aelasingsarphdthikrathaidphayitfa aelaehnwaepnkhwamyaklabak thiphraecaprathanihbutrmnusythaknxyu xyaaeswnghasingthiyaklabakekinip xyaesaahasingthiekinkhwamsamarthkhxngtn singthikhwrkrathakhuxichphicarnyandwykhwamekharphnbthux ephraathanimcatxngekhaicaelaehnthukxyanginsingthiepnkhwamlb ephraamisingxin xikmakthiidpraktkhunekinkwamnusyekhaicid xangxingMatthew Henry Concise Commentary Ecclesiastes Ecclesiastes at WiKisourse King James Version khmphirphakhphraphnthsyyaedim pyyacary A Metaphrase of The Book of Ecclesiastes by Gregory Thaumaturgus Richard Bauckham Pseudo Apostolic Letters Journal of Biblical Literature Vol7 No3 september 1988 Nachman Krochmal Wikipedia English Language Jewish Encyclopedia Ecclesiastes Kohelet William macDonald Ecclesiastes An Overview Commentary on Ecclesiates by F C Jennings Catholic Encyclopedia Book Of Wisdom The New John Gill Exposition of The Entire Bible Ecclesiastes pyyacary 12 13 14 pyyacary 1 2 pyyacary 7 5 phrathrrmpyyacary 6 12 pyya khxngsaolmxn 2 1 pyyacary 1 13 butrsira 3 21