หญ้าไฟตะกาด | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | |
อันดับ: | Caryophyllales |
วงศ์: | |
สกุล: | Drosera |
สปีชีส์: | D. peltata |
ชื่อทวินาม | |
Drosera peltata |
หญ้าไฟตะกาด (อังกฤษ: shield sundew) เป็นพืชในสกุลหยาดน้ำค้างที่มี มีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชื่อในภาษาละติน peltata แปลว่า รูปโล่ ซึ่งหมายถึงรูปทรงของก้านใบโดยทั่วไปหยาดน้ำค้างชนิดมีหัวใต้ดินส่วนมากจะเป็นใบกระจุกแนบดิน แต่หญ้าไฟตะกาดลำต้นจะตั้งขึ้น ช่อดอกเป็นกิ่งแขนง
หญ้าไฟตะกาดยังมีชื่อท้องถิ่นอื่นๆอีกดังนี้: หยาดน้ำค้าง (เลย) ปัดน้ำ (ตะวันออกเฉียงเหนือ,เลย)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
หญ้าไฟตะกาดเป็นพืชล้มลุกมีลำต้น สูงได้ถึง 35 ซม. มีหัวใต้ดินขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 ซม. ไม่มีหูใบ ใบที่โคนหลุดร่วงง่าย ใบตามลำต้นแบบก้นปิดรูปสามเหลี่ยม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3-0.6 ซม. ช่อดอกตั้งตรง ไม่แตกแยกแขนง กลีบเลี้ยงรูปไข่แกมรูปรี ยาว 0.2-0.3 ซม. ขอบเป็นชายครุย กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 0.5-0.6 ซม. สีขาว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. เพศผู้มี 5 อัน แยกกัน ยาว 0.3-0.4 ซม. รูปทรงกลม เกสรเพศเมียมี 3 อัน แยกเป็นหลายแฉก แคปซูลมี 3 ซีก รูปขอบขนานเกือบกลม เส้นผ่าศูนย์กลางยาวประมาณ 3 มม.
ถิ่นอาศัยและการกระจายพันธุ์
หญ้าไฟตะกาดปกติจะขึ้นบนพื้นราบ มีพุ่มไม้เล็กน้อย บนดินเลน หรือดินทราย อย่างบริเวณหญ้าริมถนนที่ตัดผ่านป่า เป็นต้น หญ้าไฟตะกาดมีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบในทางตอนใต้และตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย, รัฐแทสเมเนีย, ประเทศนิวซีแลนด์, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอินเดีย ในไทยพบทุกภาคขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ที่โล่งและดินที่ไม่สมบูรณ์
อ้างอิง
- Bruce Salmon, "Carnivorous Plants of New Zealand", Ecosphere publications, 2001
- สำนักงานหอพรรณไม้. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์. กรุงเทพมหานคร : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, 2549
- ปัดน้ำ สารานุกรมพืชในประเทศไทย สำนักงานหอพรรณไม้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hyaiftakadkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb xndb Caryophyllaleswngs skul Droseraspichis D peltatachuxthwinamDrosera peltata hyaiftakad xngkvs shield sundew epnphuchinskulhyadnakhangthimi mikarkracayphnthuepnwngkwang chuxinphasalatin peltata aeplwa rupol sunghmaythungrupthrngkhxngkanibodythwiphyadnakhangchnidmihwitdinswnmakcaepnibkracukaenbdin aethyaiftakadlatncatngkhun chxdxkepnkingaekhnng hyaiftakadyngmichuxthxngthinxunxikdngni hyadnakhang ely pdna tawnxxkechiyngehnux ely lksnathangphvkssastrdxkkhxnghyaiftakad hyaiftakadepnphuchlmlukmilatn sungidthung 35 sm mihwitdinkhnadelk esnphasunyklangimekin 1 sm immihuib ibthiokhnhludrwngngay ibtamlatnaebbknpidrupsamehliym esnphasunyklang 0 3 0 6 sm chxdxktngtrng imaetkaeykaekhnng klibeliyngrupikhaekmrupri yaw 0 2 0 3 sm khxbepnchaykhruy klibdxkrupikhklb yaw 0 5 0 6 sm sikhaw kandxkyaw 1 2 sm ephsphumi 5 xn aeykkn yaw 0 3 0 4 sm rupthrngklm eksrephsemiymi 3 xn aeykepnhlayaechk aekhpsulmi 3 sik rupkhxbkhnanekuxbklm esnphasunyklangyawpraman 3 mm thinxasyaelakarkracayphnthuhyaiftakadpkticakhunbnphunrab miphumimelknxy bndineln hruxdinthray xyangbriewnhyarimthnnthitdphanpa epntn hyaiftakadmiekhtkarkracayphnthukwang phbinthangtxnitaelatawnxxkkhxngpraethsxxsetreliy rthaethsemeniy praethsniwsiaelnd exechiytawnxxkechiyngit aelaxinediy inithyphbthukphakhkhuntamthichunaecha thiolngaeladinthiimsmburnxangxingBruce Salmon Carnivorous Plants of New Zealand Ecosphere publications 2001 sanknganhxphrrnim chuxphrrnimaehngpraethsithy etm smitinnthn krungethphmhankhr krmxuthyanaehngchati stwpa aelaphnthuphuch 2549 pdna saranukrmphuchinpraethsithy sanknganhxphrrnim wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb hyaiftakad