ซันเฉิ่งลิ่วปู้ (จีน: 三省六部; พินอิน: Sānshěng Liùbù; "สามเฉิ่งหกปู้") เป็นระบบบริหารราชการส่วนกลางของจักรวรรดิจีนที่จัดโครงสร้างเป็น เฉิ่ง (省; "แผนก") สามแห่ง และ ปู้ (部; "กระทรวง") หกแห่ง
โครงสร้าง
จักรพรรดิ 皇帝 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(門下省; "แผนกใต้ประตู") | (尚書省; "แผนกช่างชู") | (中書省; "แผนกเสมียนกลาง") | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
(工部; "กระทรวงโยธาธิการ") | (兵部; "กระทรวงยุทธนาการ") | (吏部; "กระทรวงขุนนาง") | (刑部; "กระทรวงราชทัณฑ์") | (禮部; "กระทรวงพิธีการ") | (戶部; "กระทรวงครัวเรือน") | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เฉิ่ง
ลำดับเหตุการณ์ | |
---|---|
ฉิน (221–206 ปีก่อนคริสตกาล) | ตั้ง |
ฮั่นตะวันตก (206 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) | ฮั่นอู่ตั้ง |
เว่ย์ (ค.ศ. 220–265) | เฉา พี ตั้งอย่างเป็นทางการ |
จิ้น (ค.ศ. 265–420) | ตั้ง |
ซ่ง (ค.ศ. 960–1279) | ยุบเหมินเซี่ยเฉิ่ง |
ยฺเหวียน (ค.ศ. 1271–1368) |
|
หมิง (ค.ศ. 1368–1644) | หงอู่ยุบจงชูเฉิ่ง |
เฉิ่ง (แผนก) ทั้งสามเป็นหน่วยงานสูงสุดในระบบราชการ มีหน้าที่หลักในทางธุรการมากกว่าบริหารรัฐกิจ หัวหน้าของเฉิ่งมักเรียก (宰相; "ข้าหลวงปกครอง") ซึ่งก็คือ อัครมหาเสนาบดี
- (แผนกช่างชู) เป็นเฉิ่งแรกที่จัดตั้งขึ้น โดยจัดตั้งในสมัยราชวงศ์ฉิน (221–206 ปีก่อนคริสตกาล) ให้ทำหน้าที่เก็บรักษาจดหมายเหตุ คำว่า "ช่างชู" (尚書) แปลว่า เสมียนผู้ช่วย ต่อมาในสมัยราชวงศ์สุย (ค.ศ. 581–618) ให้ช่างชูเป็นหัวหน้าของปู้ (กระทรวง) ตำแหน่งช่างชูจึงกลายเป็นเจ้ากระทรวงไป และช่างชูเฉิ่งกลายเป็นหน่วยงานควบคุมปู้ทั้งหก ถือเป็นองค์กรสูงสุดในการบริหารราชการ แต่ถูกยุบเลิกในสมัยราชวงศ์ยฺเหวียน (ค.ศ. 1271–1368) กระทั่งรื้อฟื้นขึ้นใหม่ในรัชสมัยจักรพรรดิยฺเหวียนอู่จง (元武宗) เพื่อให้ดูแลการคลัง เมื่อสิ้นราชวงศ์ยฺเหวียนแล้ว ช่างชูเฉิ่งก็ไม่ได้รื้อฟื้นขึ้นอีก
- (แผนกเสมียนกลาง) เป็นเฉิ่งที่สองที่จัดตั้งขึ้น โดยจัดตั้งในรัชกาลจักรพรรดิฮั่นอู่ (漢武帝) แห่งราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (206 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 9) ให้เป็นหน่วยประสานงานระหว่างที่ปรึกษาของจักรพรรดิกับรัฐบาลโดยรวม ครั้นสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออก (ค.ศ. 25–220) มีการจัดตั้งสำนักที่ปรึกษาและผู้ตรวจการ (office of advisors and reviewers) ขึ้น ถึงสมัยรัฐเว่ย์ (ค.ศ. 220–265) จักรพรรดิเฉา พี (曹丕) ประกาศจัดตั้งจงชูเฉิ่งขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยเอาสำนักงานที่ปรึกษาฯ ดังกล่าวเป็นพื้นฐาน เพื่อคานอำนาจกับช่างชูเฉิ่ง หน้าที่หลักเป็นการจัดทำนโยบาย ความรับผิดชอบโดยมากเป็นการถวายฎีกาและร่างรับสั่ง แต่บทบาทที่แท้จริงนั้นแตกต่างออกไปในแต่ละยุคสมัย เช่น ช่วงราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960–1279), ราชวงศ์เหลียว (ค.ศ. 907–1125), และ (ค.ศ. 1115–1234) เฉิ่งทั้งสามเป็นหน่วยงานที่ใช้อำนาจบริหารของจักรพรรดิ พอถึงราชวงศ์ยฺเหวียน (ค.ศ. 1271–1368) จงชูเฉิ่งกลายเป็นองค์กรหลักหนึ่งเดียวในการบริหารราชการ ส่วนเฉิ่งที่เหลือทั้งสองยุบเลิกไปสิ้นแล้ว จงชูเฉิ่งมายุบเลิกเอาในราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368–1644) หลังจากจักรพรรดิหงอู่ (洪武帝) ทรงประหารอัครมหาเสนาบดีหู เหวย์ยง (胡惟庸)
- (แผนกใต้ประตู) เป็นเฉิ่งที่สามที่จัดตั้งขึ้น โดยจัดตั้งในราชวงศ์จิ้น (ค.ศ. 265–420) เป็นหน่วยงานตรวจสอบราชการ ตรวจราชโองการและคำสั่งราชการ ถวายความเห็นต่อจักรพรรดิ และให้คำปรึกษาแก่จงชูเฉิ่ง เนื่องจากมีความสำคัญน้อยสุด จึงยุบเลิกไปในช่วงราชวงศ์ซ่ง
ปู้
ปู้ (กระทรวง) ทั้งหกเป็นหน่วยงานบริหารรัฐกิจโดยตรง ปู้แต่ละแห่งมีหัวหน้าหนึ่งคน เรียกว่า (尚書; "เสมียนผู้ช่วย") เดิมเป็นคำเรียกเสมียนเก็บรักษาจดหมายเหตุ แต่ภายหลังนำมาใช้เรียกตำแหน่งหัวหน้าของปู้ ทำให้ช่างชูกลายเป็นขุนนางเจ้ากระทรวงไป นอกจากนี้ ปู้ยังมีรองหัวหน้าสองคน เรียกว่า (侍郎; "นายสนอง")
ปู้ทั้งหก ประกอบด้วย
- (กระทรวงโยธาธิการ) รับผิดชอบงานโยธาของรัฐ จ้างช่างและคนงานชั่วคราว ผลิตอุปกรณ์ของรัฐ ดูแลเส้นทางคมนาคม ดูแลมาตรฐานการชั่งตวงวัด ตลอดจนระดมทรัพยากรจากหัวเมือง
- (กระทรวงยุทธนาการ) รับผิดชอบการแต่งตั้ง อวยยศ เลื่อนยศ ลดยศ และถอดยศข้าราชการทหาร รวมถึงกิจการทหารต่าง ๆ เช่น การรบ การป้องกันประเทศ ฯลฯ ตลอดจนงานไปรษณีย์ ในช่วงสงคราม มักแต่งตั้งขุนนางผู้ใหญ่ในปิงปู้เป็นที่ปรึกษาของผู้บัญชาการทหารแนวหน้า บางครั้งก็ตั้งให้ไปบัญชาการแนวหน้าโดยตรง
- (กระทรวงขุนนาง) รับผิดชอบการแต่งตั้ง อวยยศ เลื่อนยศ ลดยศ และถอดยศข้าราชการพลเรือน
- (กระทรวงราชทัณฑ์) รับผิดชอบกระบวนการยุติธรรมและราชทัณฑ์ แต่ไม่รวมถึงการตรวจสอบหรือทัดทานราชการ
- (กระทรวงพิธีการ) รับผิดชอบรัฐพิธี ราชพิธี พิธีการทูต ทะเบียนนักบวช และการสอบขุนนาง ทั้งยังรับผิดชอบด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ก่อนจะจัดตั้ง (總理衙門) ขึ้นใน ค.ศ. 1861 เพื่อรับงานด้านนี้แทน
- (กระทรวงครัวเรือน) รับผิดชอบสำมะโนครัวเรือน รวมถึงเก็บภาษีและบริหารรายจ่ายแผ่นดิน
หน่วยงานอื่น ๆ
นอกจากเฉิ่งทั้งสามข้างต้นแล้ว ยังมีเฉิ่งอื่น ๆ ซึ่งมีฐานะเท่าเทียมกัน แต่มิได้ข้องเกี่ยวกับราชการแผ่นดินโดยตรงนัก คือ
- เตี้ยนจงเฉิ่ง (殿中省; "แผนกท้องพระโรงกลาง") ดูแลความเป็นอยู่ของราชวงศ์และราชวัง
- มี่ชูเฉิ่ง (秘書省; "แผนกมี่ชู") ดูแลเอกสารด้านโหราศาสตร์และดาราศาสตร์ คำว่า "มี่ชู" แปลว่า "สารลับ" เป็นชื่อตำแหน่งขุนนางประเภทเลขานุการ
- เน่ย์ชื่อเฉิ่ง (內侍省; "แผนกบ่าวใน") จัดหาขันทีเข้าเป็นข้ารับใช้ในวัง
อนึ่ง ยังมี "ซือ" (司; "กอง") อีกมากมายซึ่งรับผิดชอบราชการระดับรากหญ้า เช่น กลุ่ม (三司; "สามกอง")
ดูเพิ่ม
- เน่ย์เก๋อ (內閣; "ศาลาใน"), หน่วยงานสูงสุดในการบริหารราชการแผ่นดินช่วงราชวงศ์หมิง
- ซันกง (三公; "สามพระยา"), ขุนนางชั้นสูงสุดสามตำแหน่งในราชการโบราณ
- (九卿; "เก้าขุน"), ขุนนางผู้ใหญ่เก้าตำแหน่งรองจากซันกง
- ฝ่ายตรวจการ (御史台)
- , ระบบที่คล้ายคลึงในราชวงศ์โชซ็อนแห่งเกาหลี
อ้างอิง
- Lu, 235.
- Imperial China 900-1800, by Frederick W. Mote, p477-478
- Hucker, 36.
- Hucker, 35.
- Hucker, 32.
- Hucker, 33-35.
- Hucker, 33.
บรรณานุกรม
- Denis C. Twitchett, John K. Fairbank (Hrsg.) (1979). The Cambridge History of China, Vol. 3, Sui and T'ang China, 589–906. Cambridge, England: Cambridge University Press. p. 179. ISBN .
- Hucker, Charles O. "Governmental Organization of the Ming Dynasty," Harvard Journal of Asiatic Studies (Volume 21, December 1958): 1-66.
- Li, Konghuai (2007). History of Administrative Systems in Ancient China (ภาษาจีน). Joint Publishing (H.K.) Co., Ltd. ISBN .
- Lu, Simian (2008). The General History of China (ภาษาจีน). New World Publishing. ISBN .
- Wang, Yü-Ch'üan (June 1949). "An Outline of the Central Government of the Former Han Dynasty". Harvard Journal of Asiatic Studies. Harvard-Yenching Institute. 12 (1/2): 134–187. doi:10.2307/2718206. JSTOR 2718206.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
snechingliwpu cin 三省六部 phinxin Sansheng Liubu samechinghkpu epnrabbbriharrachkarswnklangkhxngckrwrrdicinthicdokhrngsrangepn eching 省 aephnk samaehng aela pu 部 krathrwng hkaehngokhrngsrang ckrphrrdi 皇帝 門下省 aephnkitpratu 尚書省 aephnkchangchu 中書省 aephnkesmiynklang 工部 krathrwngoythathikar 兵部 krathrwngyuththnakar 吏部 krathrwngkhunnang 刑部 krathrwngrachthnth 禮部 krathrwngphithikar 戶部 krathrwngkhrweruxn echingladbehtukarnchin 221 206 pikxnkhristkal tnghntawntk 206 pikxnkhristkal kh s 9 hnxutngewy kh s 220 265 echa phi tngxyangepnthangkarcin kh s 265 420 tngsng kh s 960 1279 yubehminesiyechingy ehwiyn kh s 1271 1368 yubchangchueching y ehwiynxucngtngchangchuechingkhunihm hlngcakniimidruxfunkhunxik hming kh s 1368 1644 hngxuyubcngchueching eching aephnk thngsamepnhnwyngansungsudinrabbrachkar mihnathihlkinthangthurkarmakkwabriharrthkic hwhnakhxngechingmkeriyk 宰相 khahlwngpkkhrxng sungkkhux xkhrmhaesnabdi aephnkchangchu epnechingaerkthicdtngkhun odycdtnginsmyrachwngschin 221 206 pikxnkhristkal ihthahnathiekbrksacdhmayehtu khawa changchu 尚書 aeplwa esmiynphuchwy txmainsmyrachwngssuy kh s 581 618 ihchangchuepnhwhnakhxngpu krathrwng taaehnngchangchucungklayepnecakrathrwngip aelachangchuechingklayepnhnwyngankhwbkhumputhnghk thuxepnxngkhkrsungsudinkarbriharrachkar aetthukyubelikinsmyrachwngsy ehwiyn kh s 1271 1368 krathngruxfunkhunihminrchsmyckrphrrdiy ehwiynxucng 元武宗 ephuxihduaelkarkhlng emuxsinrachwngsy ehwiynaelw changchuechingkimidruxfunkhunxik aephnkesmiynklang epnechingthisxngthicdtngkhun odycdtnginrchkalckrphrrdihnxu 漢武帝 aehngrachwngshntawntk 206 pikxnkhristkal kh s 9 ihepnhnwyprasannganrahwangthipruksakhxngckrphrrdikbrthbalodyrwm khrnsmyrachwngshntawnxxk kh s 25 220 mikarcdtngsankthipruksaaelaphutrwckar office of advisors and reviewers khun thungsmyrthewy kh s 220 265 ckrphrrdiecha phi 曹丕 prakascdtngcngchuechingkhunxyangepnthangkar odyexasanknganthipruksa dngklawepnphunthan ephuxkhanxanackbchangchueching hnathihlkepnkarcdthanoybay khwamrbphidchxbodymakepnkarthwaydikaaelarangrbsng aetbthbaththiaethcringnnaetktangxxkipinaetlayukhsmy echn chwngrachwngssng kh s 960 1279 rachwngsehliyw kh s 907 1125 aela kh s 1115 1234 echingthngsamepnhnwynganthiichxanacbriharkhxngckrphrrdi phxthungrachwngsy ehwiyn kh s 1271 1368 cngchuechingklayepnxngkhkrhlkhnungediywinkarbriharrachkar swnechingthiehluxthngsxngyubelikipsinaelw cngchuechingmayubelikexainrachwngshming kh s 1368 1644 hlngcakckrphrrdihngxu 洪武帝 thrngpraharxkhrmhaesnabdihu ehwyyng 胡惟庸 aephnkitpratu epnechingthisamthicdtngkhun odycdtnginrachwngscin kh s 265 420 epnhnwyngantrwcsxbrachkar trwcrachoxngkaraelakhasngrachkar thwaykhwamehntxckrphrrdi aelaihkhapruksaaekcngchueching enuxngcakmikhwamsakhynxysud cungyubelikipinchwngrachwngssngpupu krathrwng thnghkepnhnwynganbriharrthkicodytrng puaetlaaehngmihwhnahnungkhn eriykwa 尚書 esmiynphuchwy edimepnkhaeriykesmiynekbrksacdhmayehtu aetphayhlngnamaicheriyktaaehnnghwhnakhxngpu thaihchangchuklayepnkhunnangecakrathrwngip nxkcakni puyngmirxnghwhnasxngkhn eriykwa 侍郎 naysnxng puthnghk prakxbdwy krathrwngoythathikar rbphidchxbnganoythakhxngrth cangchangaelakhnnganchwkhraw phlitxupkrnkhxngrth duaelesnthangkhmnakhm duaelmatrthankarchngtwngwd tlxdcnradmthrphyakrcakhwemuxng krathrwngyuththnakar rbphidchxbkaraetngtng xwyys eluxnys ldys aelathxdyskharachkarthhar rwmthungkickarthhartang echn karrb karpxngknpraeths l tlxdcnnganiprsniy inchwngsngkhram mkaetngtngkhunnangphuihyinpingpuepnthipruksakhxngphubychakarthharaenwhna bangkhrngktngihipbychakaraenwhnaodytrng krathrwngkhunnang rbphidchxbkaraetngtng xwyys eluxnys ldys aelathxdyskharachkarphleruxn krathrwngrachthnth rbphidchxbkrabwnkaryutithrrmaelarachthnth aetimrwmthungkartrwcsxbhruxthdthanrachkar krathrwngphithikar rbphidchxbrthphithi rachphithi phithikarthut thaebiynnkbwch aelakarsxbkhunnang thngyngrbphidchxbdankhwamsmphnthkbtangpraeths kxncacdtng 總理衙門 khunin kh s 1861 ephuxrbngandanniaethn krathrwngkhrweruxn rbphidchxbsamaonkhrweruxn rwmthungekbphasiaelabriharraycayaephndinhnwynganxun nxkcakechingthngsamkhangtnaelw yngmiechingxun sungmithanaethaethiymkn aetmiidkhxngekiywkbrachkaraephndinodytrngnk khux etiyncngeching 殿中省 aephnkthxngphraorngklang duaelkhwamepnxyukhxngrachwngsaelarachwng michueching 秘書省 aephnkmichu duaelexksardanohrasastraeladarasastr khawa michu aeplwa sarlb epnchuxtaaehnngkhunnangpraephthelkhanukar enychuxeching 內侍省 aephnkbawin cdhakhnthiekhaepnkharbichinwng xnung yngmi sux 司 kxng xikmakmaysungrbphidchxbrachkarradbrakhya echn klum 三司 samkxng duephimenyekx 內閣 salain hnwyngansungsudinkarbriharrachkaraephndinchwngrachwngshming snkng 三公 samphraya khunnangchnsungsudsamtaaehnnginrachkarobran 九卿 ekakhun khunnangphuihyekataaehnngrxngcaksnkng faytrwckar 御史台 rabbthikhlaykhlunginrachwngsochsxnaehngekahlixangxingLu 235 Imperial China 900 1800 by Frederick W Mote p477 478 Hucker 36 Hucker 35 Hucker 32 Hucker 33 35 Hucker 33 brrnanukrmDenis C Twitchett John K Fairbank Hrsg 1979 The Cambridge History of China Vol 3 Sui and T ang China 589 906 Cambridge England Cambridge University Press p 179 ISBN 0 521 21446 7 Hucker Charles O Governmental Organization of the Ming Dynasty Harvard Journal of Asiatic Studies Volume 21 December 1958 1 66 Li Konghuai 2007 History of Administrative Systems in Ancient China phasacin Joint Publishing H K Co Ltd ISBN 978 962 04 2654 4 Lu Simian 2008 The General History of China phasacin New World Publishing ISBN 978 7 80228 569 9 Wang Yu Ch uan June 1949 An Outline of the Central Government of the Former Han Dynasty Harvard Journal of Asiatic Studies Harvard Yenching Institute 12 1 2 134 187 doi 10 2307 2718206 JSTOR 2718206