สันดอนจะงอย หรือ สันดอนจะงอยทราย เป็นลักษณะการสะสมตัวของสัณฐานวิทยาชายฝั่ง โดยจะมีส่วนที่เชื่อมต่อกับแผ่นดินและยื่นออกไปในทะเล
สันดอนจะงอย เป็นสันดอนที่โผล่พ้นน้ำ มีรูปร่างยาวแคบเหมือนกับแหลมงอก ยื่นยาวจากชายฝั่งออกไปในทะเล มีทิศทางเกือบขนานไปกับแนวชายฝั่ง ส่วนปลายของสันดอนมีรูปร่างโค้งงอ เป็นจะงอยหรือตะขอ เกิดจากอิทธิพลของกระแสน้ำเรียบชายฝั่ง (longshore current) และปัจจัยของลักษณะชายหาดที่มีมุมเอียงและ คลื่นถอยกลับ ที่ตั้งฉากกับฝั่งโดยกระแสลม จะทำให้มีการเคลื่อนที่ของตะกอนลงชายหาดในรูปแบบฟันปลา
สันดอนจะงอย ที่มีขนาดใหญ่มากในประเทศไทยมีอยู่ 2 แห่ง คือ แหลมตะลุมพุก ที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และแหลมตาชี ที่จังหวัดปัตตานี
อ้างอิง
- Evans, O.F. 1942, The origin of spits, bars and related structures: Journal of Geology, v. 50, p. 846-863
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sndxncangxy hrux sndxncangxythray epnlksnakarsasmtwkhxngsnthanwithyachayfng odycamiswnthiechuxmtxkbaephndinaelayunxxkipinthaelaehlmtalumphuk sndxncangxy epnsndxnthiophlphnna miruprangyawaekhbehmuxnkbaehlmngxk yunyawcakchayfngxxkipinthael mithisthangekuxbkhnanipkbaenwchayfng swnplaykhxngsndxnmiruprangokhngngx epncangxyhruxtakhx ekidcakxiththiphlkhxngkraaesnaeriybchayfng longshore current aelapccykhxnglksnachayhadthimimumexiyngaela khlunthxyklb thitngchakkbfngodykraaeslm cathaihmikarekhluxnthikhxngtakxnlngchayhadinrupaebbfnpla sndxncangxy thimikhnadihymakinpraethsithymixyu 2 aehng khux aehlmtalumphuk thi cnghwdnkhrsrithrrmrach aelaaehlmtachi thicnghwdpttanixangxingEvans O F 1942 The origin of spits bars and related structures Journal of Geology v 50 p 846 863