ในวิชาสรีรวิทยา ศักยะงาน (อังกฤษ: action potential) เป็นเหตุการณ์ที่กินเวลาสั้น ๆ ซึ่งศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ (membrane potential) ไฟฟ้าของเซลล์เพิ่มและลดลงอย่างรวดเร็ว ตามด้วยแนววิถีต่อเนื่อง ศักยะงานเกิดขึ้นในเซลล์สัตว์หลายชนิด เรียกว่า เซลล์ที่เร้าได้ (excitable cell) ซึ่งรวมถึงเซลล์ประสาท และ (endocrine cell) เช่นเดียวกับเซลล์พืชบางเซลล์ ในเซลล์ประสาท ศักยะงานมีบทบาทศูนย์กลางในการสื่อสารเซลล์ต่อเซลล์ ส่วนในเซลล์ประเภทอื่น หน้าที่หลักของศักยะงาน คือ กระตุ้นกระบวนการภายในเซลล์ ตัวอย่างเช่น ในเซลล์กล้ามเนื้อ ศักยะงานเป็นขั้นแรกในชุดเหตุการณ์ที่นำไปสู่การหดตัว ในเซลล์บีตาของตับอ่อน ศักยะงานทำให้เกิดการหลั่งอินซูลิน ศักยะงานในเซลล์ประสาทยังรู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า "กระแสประสาท" หรือ "พลังประสาท" (nerve impulse) หรือ spike
ศักยะงานสร้างโดยช่องไอออนที่ควบคุมด้วยศักย์ไฟฟ้า (voltage-gated ion channel) ชนิดพิเศษที่ฝังอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ช่องเหล่านี้ถูกปิดเมื่อศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ใกล้กับ (resting potential) แต่จะเริ่มเปิดอย่างรวดเร็วหากศักย์เยื่อหุ้มเซลล์เพิ่มขึ้นถึงค่าระดับกั้น (threshold) ที่นิยามไว้อย่างแม่นยำ เมื่อช่องเปิด จะทำให้ไอออนโซเดียมไหลเข้ามาในเซลล์ประสาท ซึ่งเปลี่ยนแปลงประจุไฟฟ้า (electrochemical gradient) การเปลี่ยนแปลงนี้ยิ่งเพิ่มศักย์เยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปอีก ทำให้ช่องเปิดมากขึ้น และเกิดกระแสไฟฟ้าแรงขึ้นตามลำดับ กระบวนการดังกล่าวดำเนินไปกระทั่งช่องไอออนที่มีอยู่เปิดออกทั้งหมด ทำให้ศักย์เยื่อหุ้มเซลล์แกว่งขึ้นอย่างมาก การไหล่เข้าอย่างรวดเร็วของไอออนโซเดียมทำให้สภาพขั้วของเยื่อหุ้มเซลล์กลายเป็นตรงข้าม และช่องไอออนจะหยุดทำงาน (inactivate) อย่างรวดเร็ว เมื่อช่องโซเดียมปิด ไอออนโซเดียมจะไม่สามารถเข้าสู่เซลล์ประสาทได้อีกต่อไป และจะถูกลำเลียงแบบใช้พลังงานออกจากเยื่อหุ้มเซลล์ จากนั้น ช่องโปแทสเซียมจะทำงาน และมีกระแสไหลออกของไอออนโปแทสเซียม ซึ่งคืนประจุไฟฟ้ากลับสู่สถานะพัก หลังเกิดศักยะงานแล้ว จะมีการเปลี่ยนแปลงที่เรียกว่า (refractory period) เนื่องจากกระแสโปแทสเซียมเพิ่มเติม กลไกนี้ป้องกันมิให้ศักยะงานเดินทางย้อนกลับ
ในเซลล์สัตว์ มีศักยะงานอยู่สองประเภทหลัก ประเภทหนึ่งสร้างโดย ช่องโซเดียมที่ควบคุมด้วยศักย์ไฟฟ้า อีกประเภทหนึ่งโดยช่องแคลเซียมที่ควบคุมด้วยศักย์ไฟฟ้า ศักยะงานที่เกิดจากโซเดียมมักคงอยู่น้อยกว่าหนึ่งมิลลิวินาที ขณะที่ศักยะงานที่เกิดจากแคลเซียมอาจอยู่ได้นานถึง 100 มิลลิวินาทีหรือกว่านั้น
กฎ All-or-None
เมื่อเซลล์ประสาทถูกกระตุ้น ก็จะเกิดการตอบสนองคือเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ของเยื่อหุ้มเซลล์ขึ้น การตอบสนองของเยื่อหุ้มเซลล์นั้นมี 2 ลักษณะ คือ เกิดกระแสประสาทเมื่อแรงกระตุ้นถึงจุด threshold หรือไม่เกิดกระแสประสาทเมื่อแรงกระตุ้นไม่ถึงจุด threshold ลักษณะการตอบสนองเช่นนี้เรียกว่า all or none
การถ่ายทอดกระแสประสาท
กระแสประสาทที่เกิดขึ้นจะถูกเหนี่ยวนำผ่านใยประสาทหรือแอกซอน (axon) จากเซลล์หนึ่ง เข้าสู่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทอีกเซลล์หนึ่ง โดยความเร็วของการถ่ายทอดสัญญาณประสาทนั้นขึ้นอยู่กับ
- เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) กระแสประสาทจะถูกถ่ายทอดบนเซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มได้เร็วกว่าเซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
- Node of Ranvier ถ้าห่างมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่เร็ว
- เส้นผ่านศูนย์กลาง เซลล์ประสาทที่มีขนาดใหญ่จะสามารถถ่ายทอดสัญญาณประสาทได้เร็วกว่าเซลล์ประสาทที่มีขนาดเล็ก
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน สาขาแพทยศาสตร์ 6 ส.ค. 2544
- MacDonald PE, Rorsman P (2006). "Oscillations, intercellular coupling, and insulin secretion in pancreatic beta cells". PLoS Biol. 4 (2): e49. doi:10.1371/journal.pbio.0040049. PMC 1363709. PMID 16464129.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|month=
ถูกละเว้น ((help)) - Barnett MW, Larkman PM (2007). "The action potential". Pract Neurol. 7 (3): 192–7. PMID 17515599.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|month=
ถูกละเว้น ((help)) - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-11-25. สืบค้นเมื่อ 2012-08-18.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-07. สืบค้นเมื่อ 2021-10-01.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inwichasrirwithya skyangan xngkvs action potential epnehtukarnthikinewlasn sungskyeyuxhumesll membrane potential iffakhxngesllephimaelaldlngxyangrwderw tamdwyaenwwithitxenuxng skyanganekidkhuninesllstwhlaychnid eriykwa esllthieraid excitable cell sungrwmthungesllprasath aela endocrine cell echnediywkbesllphuchbangesll inesllprasath skyanganmibthbathsunyklanginkarsuxsareslltxesll swninesllpraephthxun hnathihlkkhxngskyangan khux kratunkrabwnkarphayinesll twxyangechn inesllklamenux skyanganepnkhnaerkinchudehtukarnthinaipsukarhdtw inesllbitakhxngtbxxn skyanganthaihekidkarhlngxinsulin skyanganinesllprasathyngruckinxikchuxhnungwa kraaesprasath hrux phlngprasath nerve impulse hrux spikekarekidkraaesprasath skyangansrangodychxngixxxnthikhwbkhumdwyskyiffa voltage gated ion channel chnidphiessthifngxyuineyuxhumesll chxngehlanithukpidemuxskyeyuxhumeslliklkb resting potential aetcaerimepidxyangrwderwhakskyeyuxhumesllephimkhunthungkharadbkn threshold thiniyamiwxyangaemnya emuxchxngepid cathaihixxxnosediymihlekhamainesllprasath sungepliynaeplngpracuiffa electrochemical gradient karepliynaeplngniyingephimskyeyuxhumesllekhaipxik thaihchxngepidmakkhun aelaekidkraaesiffaaerngkhuntamladb krabwnkardngklawdaeninipkrathngchxngixxxnthimixyuepidxxkthnghmd thaihskyeyuxhumesllaekwngkhunxyangmak karihlekhaxyangrwderwkhxngixxxnosediymthaihsphaphkhwkhxngeyuxhumesllklayepntrngkham aelachxngixxxncahyudthangan inactivate xyangrwderw emuxchxngosediympid ixxxnosediymcaimsamarthekhasuesllprasathidxiktxip aelacathuklaeliyngaebbichphlngnganxxkcakeyuxhumesll caknn chxngopaethsesiymcathangan aelamikraaesihlxxkkhxngixxxnopaethsesiym sungkhunpracuiffaklbsusthanaphk hlngekidskyanganaelw camikarepliynaeplngthieriykwa refractory period enuxngcakkraaesopaethsesiymephimetim kliknipxngknmiihskyanganedinthangyxnklb inesllstw miskyanganxyusxngpraephthhlk praephthhnungsrangody chxngosediymthikhwbkhumdwyskyiffa xikpraephthhnungodychxngaekhlesiymthikhwbkhumdwyskyiffa skyanganthiekidcakosediymmkkhngxyunxykwahnungmilliwinathi khnathiskyanganthiekidcakaekhlesiymxacxyuidnanthung 100 milliwinathihruxkwannkd All or Noneemuxesllprasaththukkratun kcaekidkartxbsnxngkhuxekidkarepliynaeplngkhwamtangskykhxngeyuxhumesllkhun kartxbsnxngkhxngeyuxhumesllnnmi 2 lksna khux ekidkraaesprasathemuxaerngkratunthungcud threshold hruximekidkraaesprasathemuxaerngkratunimthungcud threshold lksnakartxbsnxngechnnieriykwa all or nonekarthaythxdkraaesprasathkraaesprasaththiekidkhuncathukehniywnaphaniyprasathhruxaexksxn axon cakesllhnung ekhasuednidrtkhxngesllprasathxikesllhnung odykhwamerwkhxngkarthaythxdsyyanprasathnnkhunxyukb eyuximxilin myelin sheath kraaesprasathcathukthaythxdbnesllprasaththimieyuximxilinhumiderwkwaesllprasaththiimmieyuximxilinhum Node of Ranvier thahangmakkraaesprasathcaekhluxnthierw esnphansunyklang esllprasaththimikhnadihycasamarththaythxdsyyanprasathiderwkwaesllprasaththimikhnadelkxangxingsphthbyytirachbnthitysthan sakhaaephthysastr 6 s kh 2544 MacDonald PE Rorsman P 2006 Oscillations intercellular coupling and insulin secretion in pancreatic beta cells PLoS Biol 4 2 e49 doi 10 1371 journal pbio 0040049 PMC 1363709 PMID 16464129 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr month thuklaewn help Barnett MW Larkman PM 2007 The action potential Pract Neurol 7 3 192 7 PMID 17515599 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr month thuklaewn help khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 11 25 subkhnemux 2012 08 18 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 07 subkhnemux 2021 10 01