สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Union of Pure and Applied Chemistry) หรือ ไอยูแพ็ก (IUPAC, /ˈaɪjuːpæk, ˈjuː-/) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซือริช ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการไอยูแพ็ก" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC
ชื่อย่อ | ไอยูแพ็ก, ยูแพ็ก |
---|---|
คําขวัญ | Advancing Chemistry Worldwide |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1919 |
ประเภท | องค์การนอกภาครัฐระหว่างประเทศ, |
สํานักงานใหญ่ | นอร์ทแคโรไลนา สหรัฐ |
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ | ทั่วโลก |
สมาชิก | |
ภาษาทางการ | อังกฤษ |
ประธาน | ฆาบิเอร์ การ์ซิอา-มาร์ติเนซ |
เลขาธิการ | ริชาร์ด ฮาตส์ฮอร์น |
เว็บไซต์ | iupac |
ไอยูแพ็กก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1919 ให้ทำหน้าที่สืบต่อจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาวิชาเคมี สมาชิกของสหภาพฯ ซึ่งได้แก่ National Adhering Organization อาจเป็นสมาคมเคมีประจำประเทศ สถาบันวิทยาศาสตร์ประจำประเทศ หรือองค์การอื่นที่เป็นตัวแทนของนักเคมีก็ได้ ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC ได้รับการยอมรับจากนักวิชาการทั่วโลกในการพัฒนามาตรฐานสำหรับการตั้งชื่อธาตุเคมีและสารประกอบ นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นมา ไอยูแพ็กได้มีคณะกรรมการหลายชุดซึ่งมีความรับผิดชอบแตกต่างกัน คณะกรรมการเหล่านี้ต่างทำงานในหลายโครงการซึ่งรวมไปถึงการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อ ค้นหาวิธีในการนำเคมีมาสู่โลก และตีพิมพ์ผลงานต่าง ๆ
ไอยูแพ็กเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในผลงานด้านการวางมาตรฐานระบบการตั้งชื่อในวิชาเคมีและวิทยาศาสตร์สาขาอื่น แต่ไอยูแพ็กยังได้มีผลงานตีพิมพ์ในหลายสาขา ทั้งในด้านเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ ผลงานที่สำคัญของไอยูแพ็กในสาขาเหล่านี้รวมไปถึงการวางมาตรฐานชื่อรหัสลำดับเบสนิวคลีโอไทด์
ระบบการเรียกชื่อสารเคมี
คณะกรรมการไอยูแพ็กมีประวัติยาวนานในการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการของสารประกอบอินทรีย์และอนินทรีย์ ระบบการตั้งชื่อได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อที่ว่าสารประกอบใด ๆ จะสามารถเรียกชื่อได้ภายใต้กฎมาตรฐานเดียวกันเพื่อหลีกเลี่ยงชื่อซ้ำกัน ผลงานตีพิมพ์แรก ซึ่งเป็นข้อมูลจากสภาเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ ว่าด้วยระบบการเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ของไอยูแพ็กสามารถพบได้ตั้งแต่ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในหนังสือ A Guide to IUPAC Nomenclature of Organic Compounds
ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์
ระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของไอยูแพ็กนั้นแบ่งออกเป็นสามส่วนหลัก ได้แก่ ความยาวโซ่คาร์บอนและชื่อเคมีลงท้าย หมู่แทนที่หมายถึงหมู่ฟังก์ชันใด ๆ ที่เกาะเข้ากับโซ่คาร์บอนหลัก โซ่คาร์บอนหลักเป็นโซ่ที่ประกอบด้วยคาร์บอนเกาะกันเป็นแถวที่ยาวที่สุดที่เป็นไปได้ ส่วนชื่อเคมีลงท้ายเป็นการระบุว่าโมเลกุลของสารนั้นเป็นประเภทใด ยกตัวอย่างเช่น ชื่อลงท้าย "เอน" หมายความว่า ในโซ่คาร์บอนนั้นเกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด เช่นใน "เฮกเซน" (C6H14)
อีกตัวอย่างหนึ่งของระบบการเรียกชื่อสารอินทรีย์ของไอยูแพ็กคือ ไซโคลเฮกซานอล
- ชื่อหมู่แทนที่สำหรับสารประกอบรูปวง คือ "ไซโคล"
- ตัวบ่งชี้ว่าในโซ่คาร์บอนมีคาร์บอนอยู่หกอะตอม คือ "เฮกซ"
- ชื่อเคมีลงท้ายสำหรับโซ่คาร์บอนที่เกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด คือ "เ-น"
- ชื่อเคมีลงท้ายสำหรับแอลกอฮอล์ คือ "-อล"
ชื่อเคมีลงท้ายทั้งสองเมื่อประกอบกันแล้วได้เป็น "-านอล" ซึ่งหมายถึงโซ่คาร์บอนที่เกาะกันด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมดและมีแอลกอฮอล์มาเกาะโซ่คาร์บอนนั้นด้วย
ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์
ระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์พื้นฐานของไอยูแพ็กนั้นมีสองส่วนหลัก คือ และ ไอออนบวกเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุบวกและไอออนลบเป็นชื่อสำหรับไอออนที่มีประจุลบ
ตัวอย่างของระบบการเรียกชื่อสารอนินทรีย์ของไอยูแพ็กคือ โพแทสเซียมคลอไรด์ ซึ่งโพแทสเซียมเป็นชื่อไอออนบวก และคลอไรด์เป็นไอออนลบ
อ้างอิง
- "Our Leadership". IUPAC. จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2022.
- . iupac.org. 2 มิถุนายน 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 มิถุนายน 2011. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2011.
- "IUPAC Council Agenda Book 2009" (PDF). IUPAC. 2009. สืบค้นเมื่อ 17 เมษายน 2010.
- "IUPAC Committees list". iupac.org. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2010.
- . IUPAC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ตุลาคม 2010. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2010.
- (PDF). iupac.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 กรกฎาคม 2008. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2010.
- Fennel, R.W. (12 ธันวาคม 1994). History of IUPAC, 1919-1987. Blackwell Science. ISBN .
- Brown, Theodore L.; LeMay Jr., H. Eugene; Bursten, Bruce E. (2006). Chemistry The Central Science (Tenth ed.). Pearson Books. ISBN .
- Klein, David R. (2008). Organic Chemistry I As a Second Language: Translating the Basic Concepts (Second ed.). John Wiley & Sons. ISBN .
- "Gold Book web page". old.iupac.org. 19 ตุลาคม 2006. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2011.
แหล่งข้อมูลอื่น
เคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ
- เว็บไซต์ทางการ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
shphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths xngkvs International Union of Pure and Applied Chemistry hrux ixyuaephk IUPAC ˈ aɪ juː p ae k ˈ juː epnshphnthrahwangpraethssungprakxbdwyxngkhkrthiepntwaethnkhxngnkekhmiinaetlapraeths shphaph epnsmachikkhxngsphashphaphwithyasastrrahwangpraeths ICSU misanknganihytngxyuinsuxrich praethsswitesxraelnd sanknganbrihar hruxthiruckkninchux sankelkhathikarixyuaephk tngxyuthixuthyansamehliymwicy rthnxrthaekhorilna shrthxemrika sanknganbriharaehngninaodyphuxanwykarbriharkhxng IUPACshphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraethschuxyxixyuaephk yuaephkkhakhwyAdvancing Chemistry Worldwidekxtngkh s 1919 105 pithiaelw 1919 praephthxngkhkarnxkphakhrthrahwangpraeths sanknganihynxrthaekhorilna shrthphumiphakhthirbphidchxbthwolksmachikphasathangkarxngkvsprathankhabiexr karsixa martienselkhathikarrichard hatshxrnewbistiupac wbr org ixyuaephkkxtngkhuninpi kh s 1919 ihthahnathisubtxcaksphaekhmiprayuktrahwangpraethsephuxkarphthnawichaekhmi smachikkhxngshphaph sungidaek National Adhering Organization xacepnsmakhmekhmipracapraeths sthabnwithyasastrpracapraeths hruxxngkhkarxunthiepntwaethnkhxngnkekhmikid rabbkareriykchuxsarekhmikhxng IUPAC idrbkaryxmrbcaknkwichakarthwolkinkarphthnamatrthansahrbkartngchuxthatuekhmiaelasarprakxb nbtngaetkxtngkhunma ixyuaephkidmikhnakrrmkarhlaychudsungmikhwamrbphidchxbaetktangkn khnakrrmkarehlanitangthanganinhlayokhrngkarsungrwmipthungkarwangmatrthanrabbkartngchux khnhawithiinkarnaekhmimasuolk aelatiphimphphlngantang ixyuaephkepnthiruckkndithisudinphlngandankarwangmatrthanrabbkartngchuxinwichaekhmiaelawithyasastrsakhaxun aetixyuaephkyngidmiphlngantiphimphinhlaysakha thngindanekhmi chiwwithyaaelafisiks phlnganthisakhykhxngixyuaephkinsakhaehlanirwmipthungkarwangmatrthanchuxrhsladbebsniwkhlioxithdrabbkareriykchuxsarekhmikhnakrrmkarixyuaephkmiprawtiyawnaninkartngchuxxyangepnthangkarkhxngsarprakxbxinthriyaelaxninthriy rabbkartngchuxidthukphthnakhunephuxthiwasarprakxbid casamartheriykchuxidphayitkdmatrthanediywknephuxhlikeliyngchuxsakn phlngantiphimphaerk sungepnkhxmulcaksphaekhmiprayuktrahwangpraeths wadwyrabbkareriykchuxsarprakxbxinthriykhxngixyuaephksamarthphbidtngaetchwngtnkhriststwrrsthi 20 inhnngsux A Guide to IUPAC Nomenclature of Organic Compounds rabbkareriykchuxsarxinthriy rabbkareriykchuxsarxinthriykhxngixyuaephknnaebngxxkepnsamswnhlk idaek khwamyawoskharbxnaelachuxekhmilngthay hmuaethnthihmaythunghmufngkchnid thiekaaekhakboskharbxnhlk oskharbxnhlkepnosthiprakxbdwykharbxnekaaknepnaethwthiyawthisudthiepnipid swnchuxekhmilngthayepnkarrabuwaomelkulkhxngsarnnepnpraephthid yktwxyangechn chuxlngthay exn hmaykhwamwa inoskharbxnnnekaakndwyphnthaediywthnghmd echnin ehkesn C6H14 xiktwxyanghnungkhxngrabbkareriykchuxsarxinthriykhxngixyuaephkkhux isokhlehksanxl isokhlehksanxlchuxhmuaethnthisahrbsarprakxbrupwng khux isokhl twbngchiwainoskharbxnmikharbxnxyuhkxatxm khux ehks chuxekhmilngthaysahrboskharbxnthiekaakndwyphnthaediywthnghmd khux e n chuxekhmilngthaysahrbaexlkxhxl khux xl chuxekhmilngthaythngsxngemuxprakxbknaelwidepn anxl sunghmaythungoskharbxnthiekaakndwyphnthaediywthnghmdaelamiaexlkxhxlmaekaaoskharbxnnndwy rabbkareriykchuxsarxninthriy rabbkareriykchuxsarxninthriyphunthankhxngixyuaephknnmisxngswnhlk khux aela ixxxnbwkepnchuxsahrbixxxnthimipracubwkaelaixxxnlbepnchuxsahrbixxxnthimipraculb twxyangkhxngrabbkareriykchuxsarxninthriykhxngixyuaephkkhux ophaethsesiymkhlxird sungophaethsesiymepnchuxixxxnbwk aelakhlxirdepnixxxnlbxangxing Our Leadership IUPAC cakaehlngedimemux 15 mithunayn 2018 subkhnemux 27 mkrakhm 2022 iupac org 2 mithunayn 2011 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 4 mithunayn 2011 subkhnemux 8 mithunayn 2011 IUPAC Council Agenda Book 2009 PDF IUPAC 2009 subkhnemux 17 emsayn 2010 IUPAC Committees list iupac org subkhnemux 15 emsayn 2010 IUPAC khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 9 tulakhm 2010 subkhnemux 15 emsayn 2010 PDF iupac org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 6 krkdakhm 2008 subkhnemux 15 emsayn 2010 Fennel R W 12 thnwakhm 1994 History of IUPAC 1919 1987 Blackwell Science ISBN 0 86542 878 6 Brown Theodore L LeMay Jr H Eugene Bursten Bruce E 2006 Chemistry The Central Science Tenth ed Pearson Books ISBN 0 13 109686 9 Klein David R 2008 Organic Chemistry I As a Second Language Translating the Basic Concepts Second ed John Wiley amp Sons ISBN 978 0470 12929 6 Gold Book web page old iupac org 19 tulakhm 2006 subkhnemux 8 mithunayn 2011 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb shphaphekhmibrisuththiaela ekhmiprayuktrahwangpraeths ewbistthangkar