แบริออน (อังกฤษ: Baryon) เป็นตระกูลหนึ่งของอนุภาคย่อยของอะตอมแบบที่เกิดจากควาร์ก 3 ตัว (ซึ่งแตกต่างจาก เมซอน ซึ่งประกอบด้วยควาร์ก 1 ตัวและ 1 ตัว) พวกแบริออนและเมซอนต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของตระกูลอนุภาคที่เรียกว่า แฮดรอน ซึ่งเป็นตระกูลอนุภาคที่เกิดจากควาร์ก คำว่า แบริออน มาจากภาษากรีกโบราณว่า βαρύς (แบรีส) มีความหมายว่า "หนัก" เนื่องจากเมื่อครั้งที่ตั้งชื่อนี้นั้น พวกอนุภาคมูลฐานที่รู้จักกันแล้วส่วนใหญ่มีมวลน้อยกว่าพวกแบริออน
เนื่องจากแบริออนประกอบด้วยควาร์ก มันจึงประสพกับอันตรกิริยาอย่างเข้ม ในขณะที่พวกเลปตอน ซึ่งไม่มีส่วนประกอบของควาร์ก ไม่ต้องประสพ พวกแบริออนที่คุ้นเคยมากที่สุดคือ โปรตอน และ นิวตรอน ซึ่งประกอบขึ้นเป็นมวลส่วนใหญ่ของสสารที่มองเห็นได้ในจักรวาล ขณะที่อิเล็กตรอน (ส่วนประกอบหลักอีกอย่างหนึ่งของอะตอม) เป็นเลปตอน
แบริออนแต่ละตัวจะมีคู่ปฏิยานุภาคที่เรียกว่า ปฏิแบริออน ซึ่งควาร์กจะถูกแทนที่ด้วยคู่ตรงข้ามของมันคือ ปฏิควาร์ก ตัวอย่างเช่น โปรตอนประกอบด้วย 2 และ 1 คู่ปฏิยานุภาคของมันคือ ประกอบด้วย 2 อัพปฏิควาร์ก และ 1 ดาวน์ปฏิควาร์ก
จนถึงเร็ว ๆ นี้ ยังคิดกันว่ามีการทดลองบางอย่างที่สามารถแสดงถึงการมีอยู่ของ เพนตาควาร์ก หรือแบริออนประหลาดที่ประกอบด้วยควาร์ก 4 ตัวกับแอนติควาร์ก 1 ตัว ชุมชนนักฟิสิกส์อนุภาคทั้งหมดไม่เคยมองการมีอยู่ของอนุภาคในลักษณะนี้มาก่อนจนกระทั่ง ค.ศ. 2006 แต่ในปี ค.ศ. 2008 มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือซึ่งล้มล้างความเชื่อเรื่องการมีอยู่ของเพนตาควาร์ก
สสารของแบริออน
สสารแบริออน คือสสารที่มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแบริออน (โดยมวล) ซึ่งรวมถึงอะตอมทุกชนิด (นั่นหมายรวมถึงสสารเกือบทั้งหมดที่เราเคยพบหรือเคยรู้จักในชีวิตประจำวัน รวมถึงร่างกายของเราด้วย) ส่วนสสารแบบนอน-แบริออน ก็คือสสารใด ๆ ที่ไม่ได้มีองค์ประกอบพื้นฐานเป็นแบริออน ซึ่งอาจรวมถึงสสารธรรมดาเช่น นิวตริโน หรืออิเล็กตรอนอิสระ และอาจนับรวมถึงสสารมืดแบบนอน-แบริออนที่แปลกประหลาดบางชนิด เช่น อนุภาค supersymmetric, แอ็กเซียน (axion) หรือ หลุมดำ การแยกแยะระหว่างสสารแบริออนกับสสารนอน-แบริออนมีความสำคัญมากในการศึกษาจักรวาลวิทยา เพราะแบบจำลองบิกแบงนิวคลีโอซินทีสิสได้วางเงื่อนไขอันแน่นหนาเอาไว้เกี่ยวกับปริมาณสสารแบริออนที่ปรากฏขึ้นในเอกภพยุคแรก ๆ
จำนวนแบริออนที่มีอยู่ ก็เป็นประเด็นสำคัญอย่างยิ่งในทางจักรวาลวิทยา เพราะเรากำหนดสมมุติฐานว่า บิกแบงได้สร้างสภาวะที่มีแบริออนกับแอนติแบริออนในจำนวนเท่า ๆ กัน กระบวนการที่ทำให้แบริออนมีจำนวนมากกว่าแอนติแบริออน เรียกว่า แบริโอเจเนซิส
อ้างอิง
- H. Muir (2003)
- K. Carter (2003)
- W.-M. Yao et al. (2006) : Particle listings – Θ+
- C. Amsler et al. (2008) : Pentaquarks
- C. Amsler et al. (Particle Data Group) (2008). "Review of Particle Physics". Physics Letters B]. 667 (1): 1–1340.
- H. Garcilazo, J. Vijande, and A. Valcarce (2007). "Faddeev study of heavy-baryon spectroscopy". Journal of Physics G. 34 (5): 961–976. doi:10.1088/0954-3899/34/5/014.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - K. Carter (2006). "The rise and fall of the pentaquark". Fermilab and SLAC. สืบค้นเมื่อ 2008-05-27.
- W.-M. Yao et al. (Particle Data Group) (2006). "Review of Particle Physics". Journal of Physics G. 33: 1–1232. doi:10.1088/0954-3899/33/1/001.
- D.M. Manley (2005). "Status of baryon spectroscopy". Journal of Physics: Conference Series. 5: 230–237. doi:10.1088/1742-6596/9/1/043.
- H. Muir (2003). "Pentaquark discovery confounds sceptics". New Scientist. สืบค้นเมื่อ 2008-05-27.
- S.S.M. Wong (1998a). "Chapter 2—Nucleon Structure". Introductory Nuclear Physics (2nd ed.). New York (NY): John Wiley & Sons]. pp. 21–56. ISBN .
- S.S.M. Wong (1998b). "Chapter 3—The Deuteron". Introductory Nuclear Physics (2nd ed.). New York (NY): John Wiley & Sons. pp. 57–104. ISBN .
- R. Shankar (1994). Principles of Quantum Mechanics (2nd ed.). New York (NY): Plenum Press. ISBN .
- E. Wigner (1937). "On the Consequences of the Symmetry of the Nuclear Hamiltonian on the Spectroscopy of Nuclei". . 51 (2): 106–119. doi:10.1103/PhysRev.51.106.
- M. Gell-Mann (1964). "A Schematic of Baryons and Mesons". Physics Letters. 8 (3): 214–215. doi:10.1016/S0031-9163(64)92001-3.
- W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne I". Zeitschrift für Physik. 77: 1–11. doi:10.1007/BF01342433. (เยอรมัน)
- W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne II". Zeitschrift für Physik. 78: 156–164. doi:10.1007/BF01337585. (เยอรมัน)
- W. Heisenberg (1932). "Über den Bau der Atomkerne III". Zeitschrift für Physik. 80: 587–596. doi:10.1007/BF01335696. (เยอรมัน)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aebrixxn xngkvs Baryon epntrakulhnungkhxngxnuphakhyxykhxngxatxmaebbthiekidcakkhwark 3 tw sungaetktangcak emsxn sungprakxbdwykhwark 1 twaela 1 tw phwkaebrixxnaelaemsxntangkepnswnhnungkhxngtrakulxnuphakhthieriykwa aehdrxn sungepntrakulxnuphakhthiekidcakkhwark khawa aebrixxn macakphasakrikobranwa barys aebris mikhwamhmaywa hnk enuxngcakemuxkhrngthitngchuxninn phwkxnuphakhmulthanthiruckknaelwswnihymimwlnxykwaphwkaebrixxn enuxngcakaebrixxnprakxbdwykhwark mncungprasphkbxntrkiriyaxyangekhm inkhnathiphwkelptxn sungimmiswnprakxbkhxngkhwark imtxngprasph phwkaebrixxnthikhunekhymakthisudkhux oprtxn aela niwtrxn sungprakxbkhunepnmwlswnihykhxngssarthimxngehnidinckrwal khnathixielktrxn swnprakxbhlkxikxyanghnungkhxngxatxm epnelptxn aebrixxnaetlatwcamikhuptiyanuphakhthieriykwa ptiaebrixxn sungkhwarkcathukaethnthidwykhutrngkhamkhxngmnkhux ptikhwark twxyangechn oprtxnprakxbdwy 2 aela 1 khuptiyanuphakhkhxngmnkhux prakxbdwy 2 xphptikhwark aela 1 dawnptikhwark cnthungerw ni yngkhidknwamikarthdlxngbangxyangthisamarthaesdngthungkarmixyukhxng ephntakhwark hruxaebrixxnprahladthiprakxbdwykhwark 4 twkbaexntikhwark 1 tw chumchnnkfisiksxnuphakhthnghmdimekhymxngkarmixyukhxngxnuphakhinlksnanimakxncnkrathng kh s 2006 aetinpi kh s 2008 mihlkthanthinaechuxthuxsunglmlangkhwamechuxeruxngkarmixyukhxngephntakhwarkssarkhxngaebrixxnssaraebrixxn khuxssarthimixngkhprakxbswnihyepnaebrixxn odymwl sungrwmthungxatxmthukchnid nnhmayrwmthungssarekuxbthnghmdthieraekhyphbhruxekhyruckinchiwitpracawn rwmthungrangkaykhxngeradwy swnssaraebbnxn aebrixxn kkhuxssarid thiimidmixngkhprakxbphunthanepnaebrixxn sungxacrwmthungssarthrrmdaechn niwtrion hruxxielktrxnxisra aelaxacnbrwmthungssarmudaebbnxn aebrixxnthiaeplkprahladbangchnid echn xnuphakh supersymmetric aexkesiyn axion hrux hlumda karaeykaeyarahwangssaraebrixxnkbssarnxn aebrixxnmikhwamsakhymakinkarsuksackrwalwithya ephraaaebbcalxngbikaebngniwkhlioxsinthisisidwangenguxnikhxnaennhnaexaiwekiywkbprimanssaraebrixxnthipraktkhuninexkphphyukhaerk canwnaebrixxnthimixyu kepnpraednsakhyxyangyinginthangckrwalwithya ephraaerakahndsmmutithanwa bikaebngidsrangsphawathimiaebrixxnkbaexntiaebrixxnincanwnetha kn krabwnkarthithaihaebrixxnmicanwnmakkwaaexntiaebrixxn eriykwa aebrioxecensisxangxingH Muir 2003 K Carter 2003 W M Yao et al 2006 Particle listings 8 C Amsler et al 2008 Pentaquarks C Amsler et al Particle Data Group 2008 Review of Particle Physics Physics Letters B 667 1 1 1340 H Garcilazo J Vijande and A Valcarce 2007 Faddeev study of heavy baryon spectroscopy Journal of Physics G 34 5 961 976 doi 10 1088 0954 3899 34 5 014 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk K Carter 2006 The rise and fall of the pentaquark Fermilab and SLAC subkhnemux 2008 05 27 W M Yao et al Particle Data Group 2006 Review of Particle Physics Journal of Physics G 33 1 1232 doi 10 1088 0954 3899 33 1 001 D M Manley 2005 Status of baryon spectroscopy Journal of Physics Conference Series 5 230 237 doi 10 1088 1742 6596 9 1 043 H Muir 2003 Pentaquark discovery confounds sceptics New Scientist subkhnemux 2008 05 27 S S M Wong 1998a Chapter 2 Nucleon Structure Introductory Nuclear Physics 2nd ed New York NY John Wiley amp Sons pp 21 56 ISBN 0 471 23973 9 S S M Wong 1998b Chapter 3 The Deuteron Introductory Nuclear Physics 2nd ed New York NY John Wiley amp Sons pp 57 104 ISBN 0 471 23973 9 R Shankar 1994 Principles of Quantum Mechanics 2nd ed New York NY Plenum Press ISBN 0 306 44790 8 E Wigner 1937 On the Consequences of the Symmetry of the Nuclear Hamiltonian on the Spectroscopy of Nuclei 51 2 106 119 doi 10 1103 PhysRev 51 106 M Gell Mann 1964 A Schematic of Baryons and Mesons Physics Letters 8 3 214 215 doi 10 1016 S0031 9163 64 92001 3 W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne I Zeitschrift fur Physik 77 1 11 doi 10 1007 BF01342433 eyxrmn W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne II Zeitschrift fur Physik 78 156 164 doi 10 1007 BF01337585 eyxrmn W Heisenberg 1932 Uber den Bau der Atomkerne III Zeitschrift fur Physik 80 587 596 doi 10 1007 BF01335696 eyxrmn bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk