บทความนี้ไม่มีจาก |
สสารมืดเย็น (อังกฤษ: Cold dark matter; CDM) เป็นสิ่งที่ช่วยเติมเต็มทฤษฎีบิกแบง ซึ่งมีสมมุติฐานข้อใหญ่อยู่ว่า สสารส่วนใหญ่ในเอกภพนั้นเป็นสสารที่ไม่สามารถสังเกตการณ์ในช่วงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ มันจึงมีลักษณะ มืด ขณะที่อนุภาคที่ประกอบกันขึ้นเป็นสสารนี้มีความเร็วต่ำมาก มันจึงมีลักษณะ เย็น ตราบถึงปี ค.ศ. 2006 นักจักรวาลวิทยาส่วนมากเห็นชอบกับทฤษฎีสสารมืดเย็นที่ใช้ในการอธิบายว่า เหตุใดเอกภพจึงวิวัฒนาการจากสภาวะเริ่มแรกในยุคต้น (ดังที่เราเห็นจากการแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล) มาเป็นการกระจายตัวของดาราจักรและอย่างที่เห็นเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ของเอกภพในปัจจุบัน
ทฤษฎีนี้มีการเผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1984 โดยคณะนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ได้แก่ โจเอล อาร์. พริแมค, จอร์จ บลูเมนทาล, และ ซานดรา มัวร์ เฟเบอร์
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ssarmudeyn xngkvs Cold dark matter CDM epnsingthichwyetimetmthvsdibikaebng sungmismmutithankhxihyxyuwa ssarswnihyinexkphphnnepnssarthiimsamarthsngektkarninchwngkhlunaemehlkiffaid mncungmilksna mud khnathixnuphakhthiprakxbknkhunepnssarnimikhwamerwtamak mncungmilksna eyn trabthungpi kh s 2006 nkckrwalwithyaswnmakehnchxbkbthvsdissarmudeynthiichinkarxthibaywa ehtuidexkphphcungwiwthnakarcaksphawaerimaerkinyukhtn dngthieraehncakkaraephrngsiimokhrewfphunhlngkhxngckrwal maepnkarkracaytwkhxngdarackraelaxyangthiehnepnokhrngsrangkhnadihykhxngexkphphinpccubn thvsdinimikarephyaephrkhrngaerkinpi kh s 1984 odykhnankfisikschawxemrikn idaek ocexl xar phriaemkh cxrc bluemnthal aela sandra mwr efebxrduephimssarmud ssarmudrxnbthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk