สมาคมเราชาวพม่า (พม่า: တို့ဗမာအစည်းအရုံး หรือ อังกฤษ: We-Burman’s Association) เป็นองค์กรของนักชาตินิยมในพม่า ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2473 ต่อมาได้ขยายตัวเป็นศูนย์รวมของนักชาตินิยมที่เรียกตัวเองว่า ตะคีน (သခင်, ออกเสียง: [θəkʰɪ̀ɰ̃]; แปลว่า เจ้านาย) ซึ่งชื่อนี้มาจากคำที่ชาวอังกฤษใช้ในสมัยอาณานิคม ในช่วงแรกตะคีนร่วมมือกับญี่ปุ่นเพื่อขับไล่อังกฤษ แต่ต่อมาเมื่อรู้ว่าญี่ปุ่นไม่ได้จริงใจกับพม่า กลุ่มตะคีนจึงรวมตัวกันจัดตั้งสันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์เพื่อร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตร บทบาทของสมาคมเราชาวพม่าจึงสิ้นสุดลง เป็นกลุ่มที่เน้นแนวคิดชาตินิยมพม่าและต่อต้านชาวอินเดียที่เข้ามาแย่งงานของชาวพม่า
สมาคมเราชาวพม่า တို့ဗမာအစည်းအရုံး | |
---|---|
ชื่อย่อ | DAA |
ผู้ก่อตั้ง | |
คำขวัญ | ""พม่าคือประเทศของเรา; คือวรรณกรรมของเรา; ภาษาพม่าคือภาษาของเรา รักประเทศของเรา, ยกระดับมาตรฐานวรรณกรรมของเรา, เคารพภาษาของเรา" |
ก่อตั้ง | 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2473 |
ถัดไป | |
ที่ทำการ | ย่างกุ้ง |
ฝ่ายติดอาวุธ | Letyon Tat |
อุดมการณ์ | |
เพลง | ("เราชาวพม่า") (တို့ဗမာ, โด่บะมา) |
ธง | |
การก่อตัว
ชาวพม่าเริ่มเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นต้นมา องค์กรที่สำคัญในช่วงแรกคือและ ความรู้สึกชาตินิยมในหมู่นักศึกษาได้เพิ่มขึ้นจนมีการนัดหยุดเรียนเพื่อต่อต้านพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2463 ซึ่งเป็นการเริ่มใช้โรงเรียนและมหาวิทยาลัยเป็นเครื่องมือในการเรียกร้องเอกราช
พ.ศ. 2470 มีการก่อตั้งสหภาพนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งกลายเป็นศูนย์รวมกิจกรรมทางการเมืองของนักศึกษา และจากสหภาพนักศึกษานี้เอง ได้พัฒนาไปเป็น และสมาคมเราชาวพม่าใน พ.ศ. 2473"
การดำเนินงาน
ในช่วงแรกสมาคมเราชาวพม่าได้ออกมาเรียกร้องให้ชาวพม่าขับไล่ชาวอินเดียออกไป พ.ศ. 2474 หม่อง บาเทา ได้ก่อตั้งขึ้นอีกและได้รวมเข้ากับสมาคมเราชาวพม่าใน พ.ศ. 2478 สมาชิกของขบวนการส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่ยากจน เพลงประจำสมาคม Myanmar Kaba Ma Kyei ที่แต่งโดยสยาตินหรือ กลายเป็นเพลงชาติเพลงแรกของพม่า และกลายเป็นสัญลักษณ์ของชาติ เพลงนี้แต่งโดยหรือตะคีนติน เพลงนี้ใช้เป็นเพลงชาติในช่วงที่ญี่ปุ่นยึดครองจนได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2491
สมาคมพยายามเข้าไปเผยแพร่อุดมการณ์ในหมู่ชาวนาและกรรมกรแต่ไม่สำเร็จ พ.ศ. 2479 สมาชิกตะคีนของสมาคมเป็นแกนนำสำคัญในการประท้วงผู้บริหารมหาวิทยาลัยย่างกุ้ง เนื่องจากมหาวิทยาลัยได้ไล่นักศึกษาสองคนคือ ตะคีนนุและอองซานออกจากการเป็นนักศึกษา สมาคมได้ปลุกระดมให้นักศึกษานอนขวางตึกสอบเพื่อทำให้การสอบไล่ต้องหยุดชะงัก การประท้วงได้ขยายไปสู่วิทยาลัยและโรงเรียนมัธยมทั่วประเทศ นักเรียน นักศึกษารวมตัวประท้วงที่พระเจดีย์ชเวดากอง เรียกร้องให้รับนักศึกษาที่ถูกไล่ออกกลับเข้าเรียน ให้มีการให้ทุนแก่นักศึกษาที่ยากจน และปรับปรุงการบริหารมหาวิทยาลัย ในที่สุดมหาวิทยาลัยได้ยอมตามข้อเรียกร้องสองประการแรก
ตั้งพรรคการเมือง
เมื่ออังกฤษจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในพม่าเมื่อ พ.ศ. 2479 สมาคมได้จัดตั้งหรือพรรคเจ้าชีวิตของเราเอง วิถีชีวิตของเราเอง มีอูบาอูเป็นหัวหน้าพรรค และอองซานเป็นเลขาธิการ แต่พรรคได้ที่นั่งในสภาเพียงสามที่นั่ง
พ.ศ. 2481–2482 เกิดความวุ่นวายจากการที่ชาวพม่าก่อการจลาจลต่อต้านชาวอินเดีย อองซานซึ่งเป็นเลขาธิการของสมาคมได้เข้าไปจัดตั้งกรรมกร ยุยงให้ประท้วงขอขึ้นค่าแรง สมาชิกตะคีนที่เข้าไปยุยงกรรมกรถูกจับกุมหลายคน เช่น เลหม่องและบะเฮง นักศึกษาหยุดเรียนเพื่อประท้วง จึงถูกสลายฝูงชนด้วยความรุนแรงโดยตำรวจชาวอินเดีย นักศึกษาชื่อหม่อง ฮาวจอร์ ถูกตีด้วยกระบองจนเสียชีวิต เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นผู้พลีชีพคนแรกของขบวนการนักศึกษา
ในช่วงนี้ อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์แพร่เข้ามาในหมู่ผู้นำของสมาคมจนเกิดการแตกแยกกันเอง สมาชิกบางส่วนแยกไปจัดตั้งกลุ่มของตนเอง เช่น โส บะเฮง อองซาน โกเชล เท่งเป ไปตั้งพรรคคอมมิวนิสต์พม่า ส่วนตะคีนเมียะไปตั้งร่วมกับบะส่วย
สงครามโลกครั้งที่ 2
ในช่วงแรก สมาคมประณามลัทธิฟาสซิสต์ว่าอยู่ตรงข้ามกับอุดมการณ์ของตะคีน และสั่งห้ามสมาชิกนัดหยุดงานหรือเข้าร่วมในการจลาจลอื่นใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากสมาคม ทำให้การประท้วงของนักศึกษาหยุดชะงัก ผู้นำตะคีนได้ร่วมมือกับ ดร.บามอร์จัดตั้งกลุ่มเสรีภาพแต่พรรคคอมมิวนิสต์พม่าไม่ร่วมมือด้วย
เมื่อญี่ปุ่นเตรียมบุกพม่า อังกฤษประกาศใช้พระราชบัญญัติป้องกันพม่า ทำให้รัฐบาลพม่าสนับสนุนอังกฤษในการทำสงคราม กลุ่มสันติภาพได้ออกมาต่อต้านสงครามจึงถูกอังกฤษกวาดล้างและประกาศเป็นกลุ่มนอกกฎหมาย กลุ่มตะคีนได้หนีออกจากประเทศและได้กลับเข้ามาใหม่ภายหลัง ผู้นำคนสำคัญถูกอังกฤษจับกุมตัวหลายคน รวมทั้งอองซาน เมื่อถูกปล่อยตัวออกมา อองซานหนีออกจากประเทศไปจีนแต่ถูกญี่ปุ่นจับตัวได้ อองซานจึงตัดสินใจร่วมมือกับญี่ปุ่น ลอบเข้ามาชักนำตะคีน 29 คนไปฝึกวิชาทหารแบบญี่ปุ่นที่ไต้หวันและเกาะไหหลำ และเข้ามายึดประเทศพม่าคืนจากอังกฤษพร้อมญี่ปุ่น ต่อมา ใน พ.ศ. 2486 ตะคีนจำนวน 30 คนได้ประกอบกันขึ้นเป็นผู้นำของกองทัพพม่าเอกราช ซึ่งเปลี่ยนเป็นกองทัพแห่งชาติพม่าใน พ.ศ. 2487
เมื่อทางพม่าเห็นว่าญี่ปุ่นไม่จริงใจกับพม่า และปกครองพม่าอย่างกดขี่ทารุณ อองซานได้จัดตั้งสันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์ เพื่อร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตร อดีตผู้นำของสมาคมเราชาวพม่าได้เข้าร่วมในสันนิบาตนี้ด้วย
หลังสงคราม
เมื่อสงครามโลกสิ้นสุดลง สมาคมเราชาวพม่าแสดงตนเป็นฝ่ายค้านของสันนิบาตเสรีชน อังกฤษพยายามสนับสนุนสมาคมเพื่อถ่วงดุลกับสันนิบาตเสรีชนแต่ไม่สำเร็จเพราะประชาชนสนับสนุนสันนิบาตเสรีชนมากกว่า สมาคมไม่เห็นด้วยกับข้อตกลงอองซาน-แอตลี และจัดตั้งแนวร่วมฝ่ายค้านต่อต้านข้อตกลงนี้ เมื่อมีการเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ พ.ศ. 2490 สมาคมเราชาวพม่าไม่เข้าร่วมในขณะที่สันนิบาตเสรีชนได้ชัยชนะอย่างท่วมท้น หลังจากนั้น บทบาทของสมาคมเราชาวพม่าก็สิ้นสุดลง
อ้างอิง
- Tarling, Nicholas (1999). The Cambridge History of Southeast Asia. Cambridge UP. ISBN .
- Khin Yi (1988) The Dobama Movement in Burma (1930–1938), SEAP, p39
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-06. สืบค้นเมื่อ 2010-11-05.
- Paul H. Kratoska, บ.ก. (2001). South East Asia: Colonial History. Routledge. ISBN .
- Mikael Gravers (1999). "Nationalism as Political Paranoia in Burma: an essay on the historical practice of power". Routledge.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - A first hand account appears in (1937) by
แหล่งข้อมูลอื่น
- Thakins Encyclopedia of Modern Asia
- Burma’s Struggle for Democracy: The Army Against the People Josef Silverstein
- สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่:เอเชีย เล่ม 2 อักษร C-D. กทม. ราชบัณฑิตยสถาน. 2547
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smakhmerachawphma phma တ ဗမ အစည အရ hrux xngkvs We Burman s Association epnxngkhkrkhxngnkchatiniyminphma kxtngkhunemux ph s 2473 txmaidkhyaytwepnsunyrwmkhxngnkchatiniymthieriyktwexngwa takhin သခင xxkesiyng 8ekʰɪ ɰ aeplwa ecanay sungchuxnimacakkhathichawxngkvsichinsmyxananikhm inchwngaerktakhinrwmmuxkbyipunephuxkhbilxngkvs aettxmaemuxruwayipunimidcringickbphma klumtakhincungrwmtwkncdtngsnnibatesrichntxtanfassistephuxrwmmuxkbfaysmphnthmitr bthbathkhxngsmakhmerachawphmacungsinsudlng epnklumthiennaenwkhidchatiniymphmaaelatxtanchawxinediythiekhamaaeyngngankhxngchawphmasmakhmerachawphma တ ဗမ အစည အရ chuxyxDAAphukxtngkhakhwy phmakhuxpraethskhxngera khuxwrrnkrrmkhxngera phasaphmakhuxphasakhxngera rkpraethskhxngera ykradbmatrthanwrrnkrrmkhxngera ekharphphasakhxngera kxtng30 phvsphakhm ph s 2473thdipthithakaryangkungfaytidxawuthLetyon Tatxudmkarnchatiniymphma khxmmiwnist sngkhmniymephlng erachawphma တ ဗမ odbama source source thngkareluxktngthngkhxngsmakhmerachawphma ph s 2473 2485 sungtxmaidichepnthngchatikhxngrthphmainchwngsngkhramolkkhrngthi 2karkxtwchawphmaerimeriykrxngexkrachcakxngkvstngaethlngsngkhramolkkhrngthi 1 epntnma xngkhkrthisakhyinchwngaerkkhuxaela khwamrusukchatiniyminhmunksuksaidephimkhuncnmikarndhyuderiynephuxtxtanphrarachbyytimhawithyaly ph s 2463 sungepnkarerimichorngeriynaelamhawithyalyepnekhruxngmuxinkareriykrxngexkrach ph s 2470 mikarkxtngshphaphnksuksathimhawithyalyyangkung sungklayepnsunyrwmkickrrmthangkaremuxngkhxngnksuksa aelacakshphaphnksuksaniexng idphthnaipepn aelasmakhmerachawphmain ph s 2473 kardaeninngankarprathwngkhxngsmakhmerachawphma inchwngaerksmakhmerachawphmaidxxkmaeriykrxngihchawphmakhbilchawxinediyxxkip ph s 2474 hmxng baetha idkxtngkhunxikaelaidrwmekhakbsmakhmerachawphmain ph s 2478 smachikkhxngkhbwnkarswnihymacakkhrxbkhrwthiyakcn ephlngpracasmakhm Myanmar Kaba Ma Kyei thiaetngodysyatinhrux klayepnephlngchatiephlngaerkkhxngphma aelaklayepnsylksnkhxngchati ephlngniaetngodyhruxtakhintin ephlngniichepnephlngchatiinchwngthiyipunyudkhrxngcnidrbexkrachin ph s 2491 smakhmphyayamekhaipephyaephrxudmkarninhmuchawnaaelakrrmkraetimsaerc ph s 2479 smachiktakhinkhxngsmakhmepnaeknnasakhyinkarprathwngphubriharmhawithyalyyangkung enuxngcakmhawithyalyidilnksuksasxngkhnkhux takhinnuaelaxxngsanxxkcakkarepnnksuksa smakhmidplukradmihnksuksanxnkhwangtuksxbephuxthaihkarsxbiltxnghyudchangk karprathwngidkhyayipsuwithyalyaelaorngeriynmthymthwpraeths nkeriyn nksuksarwmtwprathwngthiphraecdiychewdakxng eriykrxngihrbnksuksathithukilxxkklbekhaeriyn ihmikarihthunaeknksuksathiyakcn aelaprbprungkarbriharmhawithyaly inthisudmhawithyalyidyxmtamkhxeriykrxngsxngprakaraerktngphrrkhkaremuxngemuxxngkvscdihmikareluxktngthwipinphmaemux ph s 2479 smakhmidcdtnghruxphrrkhecachiwitkhxngeraexng withichiwitkhxngeraexng mixubaxuepnhwhnaphrrkh aelaxxngsanepnelkhathikar aetphrrkhidthinnginsphaephiyngsamthinng ph s 2481 2482 ekidkhwamwunwaycakkarthichawphmakxkarclacltxtanchawxinediy xxngsansungepnelkhathikarkhxngsmakhmidekhaipcdtngkrrmkr yuyngihprathwngkhxkhunkhaaerng smachiktakhinthiekhaipyuyngkrrmkrthukcbkumhlaykhn echn elhmxngaelabaehng nksuksahyuderiynephuxprathwng cungthukslayfungchndwykhwamrunaerngodytarwcchawxinediy nksuksachuxhmxng hawcxr thuktidwykrabxngcnesiychiwit ekhacungidrbkarykyxngihepnphuphlichiphkhnaerkkhxngkhbwnkarnksuksa inchwngni xiththiphlkhxnglththikhxmmiwnistaephrekhamainhmuphunakhxngsmakhmcnekidkaraetkaeykknexng smachikbangswnaeykipcdtngklumkhxngtnexng echn os baehng xxngsan okechl ethngep iptngphrrkhkhxmmiwnistphma swntakhinemiyaiptngrwmkbbaswysngkhramolkkhrngthi 2inchwngaerk smakhmpranamlththifassistwaxyutrngkhamkbxudmkarnkhxngtakhin aelasnghamsmachikndhyudnganhruxekharwminkarclaclxunidodyimidrbxnuyatcaksmakhm thaihkarprathwngkhxngnksuksahyudchangk phunatakhinidrwmmuxkb dr bamxrcdtngklumesriphaphaetphrrkhkhxmmiwnistphmaimrwmmuxdwy emuxyipunetriymbukphma xngkvsprakasichphrarachbyytipxngknphma thaihrthbalphmasnbsnunxngkvsinkarthasngkhram klumsntiphaphidxxkmatxtansngkhramcungthukxngkvskwadlangaelaprakasepnklumnxkkdhmay klumtakhinidhnixxkcakpraethsaelaidklbekhamaihmphayhlng phunakhnsakhythukxngkvscbkumtwhlaykhn rwmthngxxngsan emuxthukplxytwxxkma xxngsanhnixxkcakpraethsipcinaetthukyipuncbtwid xxngsancungtdsinicrwmmuxkbyipun lxbekhamachknatakhin 29 khnipfukwichathharaebbyipunthiithwnaelaekaaihhla aelaekhamayudpraethsphmakhuncakxngkvsphrxmyipun txma in ph s 2486 takhincanwn 30 khnidprakxbknkhunepnphunakhxngkxngthphphmaexkrach sungepliynepnkxngthphaehngchatiphmain ph s 2487 emuxthangphmaehnwayipunimcringickbphma aelapkkhrxngphmaxyangkdkhitharun xxngsanidcdtngsnnibatesrichntxtanfassist ephuxrwmmuxkbfaysmphnthmitr xditphunakhxngsmakhmerachawphmaidekharwminsnnibatnidwyhlngsngkhramemuxsngkhramolksinsudlng smakhmerachawphmaaesdngtnepnfaykhankhxngsnnibatesrichn xngkvsphyayamsnbsnunsmakhmephuxthwngdulkbsnnibatesrichnaetimsaercephraaprachachnsnbsnunsnnibatesrichnmakkwa smakhmimehndwykbkhxtklngxxngsan aextli aelacdtngaenwrwmfaykhantxtankhxtklngni emuxmikareluxktngspharangrththrrmnuyemux ph s 2490 smakhmerachawphmaimekharwminkhnathisnnibatesrichnidchychnaxyangthwmthn hlngcaknn bthbathkhxngsmakhmerachawphmaksinsudlngxangxingTarling Nicholas 1999 The Cambridge History of Southeast Asia Cambridge UP ISBN 0 5216 6369 5 Khin Yi 1988 The Dobama Movement in Burma 1930 1938 SEAP p39 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 04 06 subkhnemux 2010 11 05 Paul H Kratoska b k 2001 South East Asia Colonial History Routledge ISBN 0 415 21539 0 Mikael Gravers 1999 Nationalism as Political Paranoia in Burma an essay on the historical practice of power Routledge a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help A first hand account appears in 1937 byaehlngkhxmulxunThakins Encyclopedia of Modern Asia Burma s Struggle for Democracy The Army Against the People Josef Silverstein saranukrmprawtisastrsaklsmyihm exechiy elm 2 xksr C D kthm rachbnthitysthan 2547