สมการของล็อนด็อน พัฒนาโดยพี่น้อง ฟริทซ์และ ในปี ค.ศ. 1935 เกี่ยวข้องกับเรื่องกระแสไฟฟ้าในภายในหรือรอบ ๆ ตัวนำยวดยิ่ง กล่าวกันว่าสมการนี้เป็นคำอธิบายปรากฏการณ์สภาพนำยวดยิ่งที่ง่ายที่สุด และสามารถอธิบายได้
สมการ:
∇2 B= B/ λL2 ) และ ∇2 J= J/ λL2 ....... (1)
โดย λL เป็นค่าคงตัวใด ๆ ที่ต่อมาถูกเรียกว่าความลึกซาบซึมได้ของล็อนด็อน (London penetration depth) เป็นตัวแปรแบบ Phenomenological parameter การหาคำตอบจากสมการ (1) จะขึ้นกับลักษณะรูปร่างและเงื่อนไขขอบเขตของปัญหาที่สนใจ แต่อย่างไรก็ตามคำตอบจะอยู่รูป B =B_0 e(-x/ λL) เมื่อพิจารณาระยะทางตามแกน x แสดงว่าสนามแม่เหล็กสามารถทะลุเข้าไปในเนื้อตัวนำยวดยิ่งได้ λL หน่วย จึงจะมีค่าสนามแม่เหล็ก (B) ลดลงเหลือเป็น B/e โดย e = 2.718
อ้างอิง
- London F .,and London H., Z.Phys. 96,259(1935). ;London F .,and London H.,Proc.Roy.Soc.(London),A147,71(1935).
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smkarkhxnglxndxn phthnaodyphinxng frithsaela inpi kh s 1935 ekiywkhxngkberuxngkraaesiffainphayinhruxrxb twnaywdying klawknwasmkarniepnkhaxthibaypraktkarnsphaphnaywdyingthingaythisud aelasamarthxthibayidemuxwtthuxyutakwaxunhphumiwikvtnaywdying snamaemehlkphayinwtthucathukslaydwypraktkarnimsenxr smkarkhxnglxndxnichxthibaypraktkarnni smkar 2 B B lL2 aela 2 J J lL2 1 ody lL epnkhakhngtwid thitxmathukeriykwakhwamluksabsumidkhxnglxndxn London penetration depth epntwaepraebb Phenomenological parameter karhakhatxbcaksmkar 1 cakhunkblksnaruprangaelaenguxnikhkhxbekhtkhxngpyhathisnic aetxyangirktamkhatxbcaxyurup B B 0 e x lL emuxphicarnarayathangtamaekn x aesdngwasnamaemehlksamarththaluekhaipinenuxtwnaywdyingid lL hnwy cungcamikhasnamaemehlk B ldlngehluxepn B e ody e 2 718xangxingMeissner W R Ochsenfeld 1933 Ein neuer Effekt bei Eintritt der Supraleitfahigkeit Naturwissenschaften 21 44 787 Bibcode 1933NW 21 787M doi 10 1007 BF01504252 London F and London H Z Phys 96 259 1935 London F and London H Proc Roy Soc London A147 71 1935