สบู่ดำ | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Rosids |
อันดับ: | Malpighiales |
วงศ์: | Euphorbiaceae |
สกุล: | |
สปีชีส์: | J. curcas |
ชื่อทวินาม | |
Jatropha curcas L. |
สบู่ดำ เป็นพืชน้ำมันชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ชาวโปรตุเกสนำเข้ามาปลูกในประเทศไทย ในช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันมีการสกัดน้ำมันจากเมล็ดสบู่ดำใช้ทดแทนน้ำมันดีเซล
ในหลายประเทศได้มีความเห็นคัดค้านการปลูกสบู่ดำเพื่อสกัดน้ำมัน โดยเสนอแนะให้นำพื้นที่เหล่านั้นไปปลูกพืชสำหรับบริโภคแทน และนอกจากนี้ปัญหาการใช้น้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อคิดเทียบเท่าต่อพลังงานที่ได้จากพืชชนิดอื่นเช่นอ้อยหรือข้าวโพด สบู่ดำใช้น้ำเป็นปริมาณ 5 เท่า
เป็นไม้พุ่มกึ่งป่าดิบ หรือต้นไม้เล็กสูงถึง 6 เมตร (20 ฟุต) ขึ้นไปมันสามารถทนต่อระดับสูงของความแห้งแล้งปล่อยให้มันเติบโตในทะเลทราย ประกอบด้วย phorbol estersซึ่งถือว่าเป็นพิษอย่างไรก็ตามพิสูจน์แล้ว (ไม่เป็นพิษ) กินได้พื้นเมืองเม็กซิโกยังมีอยู่, เป็นที่รู้จักกันโดยประชากรในท้องถิ่น หมู่คนอื่น ๆ . สบู่ดำยังมีสารประกอบเช่นt rypsin inhibitors , phytate , saponins และประเภทของเลคตินหรือที่รู้จักกันว่า Curcin
เมล็ดมี 27-40% น้ำมัน (เฉลี่ย: 34.4% ) ที่สามารถประมวลผลในการผลิตที่มีคุณภาพสูงไบโอดีเซลน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้งานได้ในมาตรฐานเครื่องยนต์ดีเซล สามารถใช้พิสูจน์ได้ (ไม่เป็นพิษ) สำหรับอาหารสัตว์และอาหาร
ลักษณะ
เป็นไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง ความสูง 2-7 เมตร อายุยืนไม่น้อยกว่า 20 ปี ลำต้นและยอดคล้ายละหุ่ง แต่ไม่มีขน อยู่ในวงศ์ยางพารา เมื่อหักลำต้น ส่วนยอดหรือส่วนก้านใบจะมียางสีขาวขุ่นคล้ายน้ำนมไหลออกมา มีกลิ่นเหม็นเขียว
ดอก
ออกดอกเป็นช่อกระจุกที่ข้อส่วนปลายของยอด ขนาดดอกเล็กสีเหลืองมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ
ผลและเมล็ด
ผลและเมล็ดมีไฮโดรเจนไซยาไนด์ (HCN) เมล็ดสบู่ดำมีสารพิษเรียกว่า curcin หากบริโภคแล้วทำให้เกิดอาการท้องเดินเหมือนสลอด เมื่อติดผลแล้วมีสีเขียวอ่อนเกลี้ยงเกลาป็นช่อพวงมีหลายผล เวลาสุกแก่จัดมีสีเหลืองคล้าย รูปผลมีลักษณะทรงกลมขนาดปานกลาง เปลือกหนาปานกลาง
เมล็ด : เมล็ดจะสุกเมื่อแคปซูลเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีเหลือง เมล็ดประกอบด้วยกรดไขมันอิ่มตัวประมาณ 20% และกรดไขมันไม่อิ่มตัว 80% และให้ผลผลิตน้ำมัน 25-40% โดยน้ำหนัก นอกจากนี้ในเมล็ดมีสารเคมีอื่น ๆ เช่นsaccharose , raffinose , stachyose , กลูโคส , ฟรุกโตส , กาแลคโตและโปรตีนน้ำมันส่วนใหญ่ประกอบด้วยกรดโอเลอิคและกรดไลโนเลอิก นอกจากนี้โรงงานยังมี curcasin, arachidic, myristic , ปาล์มิติและสเตียริกกรดและcurcin
ผลหนึ่งส่วนมากมี 3 พู โดยแต่ละพูทำหน้าที่ห่อหุ้มเมล็ดไว้ เมล็ดสีดำขนาดเล็กกว่าเมล็ดละหุ่งพันธุ์ลายขาวดำเล็กน้อย สีตรงปลายเมล็ดมีจุดสีขาวเล็กๆ ติดอยู่ เมื่อเก็บไว้นานจุดนี้จะหดตัวเหี่ยวแห้งลงขนาดของเมล็ดเฉลี่ย ความยาว 1.7-1.9 เซนติเมตร หนา 0.8-0.9 เซนติเมตร น้ำหนัก 100 เมล็ดประมาณ 69.8 กรัม เมื่อแกะเปลือกนอกสีดำออกจะเห็นเนื้อในสีขาว
การใช้ประโยชน์
ต้นสบู่ดำเป็นสมุนไพรรักษาโรคได้หลายโรค เช่น ใช้น้ำยางใสป้ายริมฝีปากรักษา รักษาแผลในปาก แก้อาการปวดฟัน นำมาผสมกับน้ำนมมารดาป้ายลิ้นขาวในเด็กก็หาย หยอดตาแดงหายได้เช่นกัน หรือผสมกับน้ำเจือจางเป็นยาระบาย
ส่วนลำต้นนำมาผ่าสับเป็นท่อนแช่น้ำอาบแก้โรคซางในเด็ก แก้โรคคันได้ เอาใบสบู่ดำห่อข้าวสุกแล้วหมกขี้เถ้าให้เด็กกินแก้ตาแฉะ หรือนำมาห่ออิฐร้อนนาบท้องในหญิงคลอดบุตรอยู่ไฟสมัยก่อน รวมทั้งประชาชนบางประเทศใช้น้ำมันสบู่ดำใส่ผมด้วย สารสกัดจากเปลือกผลที่สกัดด้วยเมทานอล 5%ยับยั้งการเจริญของข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ได้ทั้งก่อนงอกและหลังงอก สารสกัดด้วยน้ำจากรากส่งผลยับยั้งการเจริญของข้าวโพด นอกจากนั้น สารสกัดจากเปลือกผลที่สกัดด้วยเมทานอลยังมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระชาวโอรังอัซลีในรัฐเปรัก ประเทศมาเลเซีย ใช้ใบอ่อนใช้รักษาแผลและอาการบวม รากนำมาต้มและชง ใช้รักษาโรคท้องร่วง ชาวกะเหรี่ยงปลูกเป็นแนวรั้วบ้าน ป้องกันไม่ให้วัวควายเข้าบ้าน เมล็ดนำไปคั่วแล้วคั้นเอาน้ำมัน ใช้เป็นน้ำมันตะเกียง ใช้ฆ่าพยาธิในวัวควาย
อ้างอิง
- Germplasm Resources Information Network. United States Department of Agriculture. 2008-08-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-05. สืบค้นเมื่อ 2010-10-14.
- ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 1 ชัยนาท, ความรู้ทั่วไปของสบู่ดำ 2007-09-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-30. สืบค้นเมื่อ 2010-02-16.
- The draught-resistant "dream" biofuel is also a water hog.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-09. สืบค้นเมื่อ 2007-09-22.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-11. สืบค้นเมื่อ 2007-09-22.
- เรืองศักดิ์ ใจสุขดี. 2553. พิษของสารสกัดหยาบจากสบู่ดำต่อการงอกและการเจริญเติบโตของพืชใบแคบบางชนิด. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 8, 8-9 ธันวาคม 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
- Abugre, S., and Sam, S.J.Q. 2010. Evaluating the allelopathic effect of Jatropha curcas aqueous extract on germination radical and plumule length of crops. International Journal of Agriculture and Biology. 12, 769-772
- ศรีสม สุวรรณวงศ์ และธีระ วัชระมงคล. 2555. ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดเปลือกผลสบู่ดำ. การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 28 -30 มีนาคม 2555
- Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 6:5
- ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ 2551 พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ที่ตำบลบ้านจันทร์และแจ่มหลวง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่271 หน้า ดูฉบับเต็ม 2021-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
- เครื่องหีบน้ำมันสบู่ดำ คลินิกเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2007-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sbudakarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Rosidsxndb Malpighialeswngs Euphorbiaceaeskul spichis J curcaschuxthwinamJatropha curcas L sbuda epnphuchnamnchnidhnung sungepnphuchphunemuxngkhxngthwipxemrikait chawoprtueksnaekhamaplukinpraethsithy inchwngplaysmykrungsrixyuthya pccubnmikarskdnamncakemldsbudaichthdaethnnamndiesl inhlaypraethsidmikhwamehnkhdkhankarpluksbudaephuxskdnamn odyesnxaenaihnaphunthiehlannipplukphuchsahrbbriophkhaethn aelanxkcaknipyhakarichnaepncanwnmak sungemuxkhidethiybethatxphlngnganthiidcakphuchchnidxunechnxxyhruxkhawophd sbudaichnaepnpriman 5 etha epnimphumkungpadib hruxtnimelksungthung 6 emtr 20 fut khunipmnsamarththntxradbsungkhxngkhwamaehngaelngplxyihmnetibotinthaelthray prakxbdwy phorbol esterssungthuxwaepnphisxyangirktamphisucnaelw imepnphis kinidphunemuxngemksiokyngmixyu epnthiruckknodyprachakrinthxngthin hmukhnxun sbudayngmisarprakxbechnt rypsin inhibitors phytate saponins aelapraephthkhxngelkhtinhruxthiruckknwa Curcin emldmi 27 40 namn echliy 34 4 thisamarthpramwlphlinkarphlitthimikhunphaphsungiboxdieslnamnechuxephlingthiichnganidinmatrthanekhruxngyntdiesl samarthichphisucnid imepnphis sahrbxaharstwaelaxaharlksnaepnimphumyuntnkhnadklang khwamsung 2 7 emtr xayuyunimnxykwa 20 pi latnaelayxdkhlaylahung aetimmikhn xyuinwngsyangphara emuxhklatn swnyxdhruxswnkanibcamiyangsikhawkhunkhlaynanmihlxxkma miklinehmnekhiyw dxk xxkdxkepnchxkracukthikhxswnplaykhxngyxd khnaddxkelksiehluxngmiklinhxmxxn phlaelaemld emldsbuda phlaelaemldmiihodrecnisyaind HCN emldsbudamisarphiseriykwa curcin hakbriophkhaelwthaihekidxakarthxngedinehmuxnslxd emuxtidphlaelwmisiekhiywxxnekliyngeklapnchxphwngmihlayphl ewlasukaekcdmisiehluxngkhlay rupphlmilksnathrngklmkhnadpanklang epluxkhnapanklang emld emldcasukemuxaekhpsulepliyncaksiekhiywepnsiehluxng emldprakxbdwykrdikhmnximtwpraman 20 aelakrdikhmnimximtw 80 aelaihphlphlitnamn 25 40 odynahnk nxkcakniinemldmisarekhmixun echnsaccharose raffinose stachyose kluokhs frukots kaaelkhotaelaoprtinnamnswnihyprakxbdwykrdoxelxikhaelakrdilonelxik nxkcakniorngnganyngmi curcasin arachidic myristic palmitiaelasetiyrikkrdaelacurcin phlhnungswnmakmi 3 phu odyaetlaphuthahnathihxhumemldiw emldsidakhnadelkkwaemldlahungphnthulaykhawdaelknxy sitrngplayemldmicudsikhawelk tidxyu emuxekbiwnancudnicahdtwehiywaehnglngkhnadkhxngemldechliy khwamyaw 1 7 1 9 esntiemtr hna 0 8 0 9 esntiemtr nahnk 100 emldpraman 69 8 krm emuxaekaepluxknxksidaxxkcaehnenuxinsikhawkarichpraoychntnsbudaepnsmuniphrrksaorkhidhlayorkh echn ichnayangispayrimfipakrksa rksaaephlinpak aekxakarpwdfn namaphsmkbnanmmardapaylinkhawinedkkhay hyxdtaaednghayidechnkn hruxphsmkbnaecuxcangepnyarabay swnlatnnamaphasbepnthxnaechnaxabaekorkhsanginedk aekorkhkhnid exaibsbudahxkhawsukaelwhmkkhiethaihedkkinaektaaecha hruxnamahxxithrxnnabthxnginhyingkhlxdbutrxyuifsmykxn rwmthngprachachnbangpraethsichnamnsbudaisphmdwy sarskdcakepluxkphlthiskddwyemthanxl 5 ybyngkarecriykhxngkhawphnthupthumthani 1 idthngkxnngxkaelahlngngxk sarskddwynacakraksngphlybyngkarecriykhxngkhawophd nxkcaknn sarskdcakepluxkphlthiskddwyemthanxlyngmivththitanxnumulxisrachawoxrngxsliinrtheprk praethsmaelesiy ichibxxnichrksaaephlaelaxakarbwm raknamatmaelachng ichrksaorkhthxngrwng chawkaehriyngplukepnaenwrwban pxngknimihwwkhwayekhaban emldnaipkhwaelwkhnexanamn ichepnnamntaekiyng ichkhaphyathiinwwkhwayxangxingGermplasm Resources Information Network United States Department of Agriculture 2008 08 29 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 06 05 subkhnemux 2010 10 14 sunysngesrimwiswkrrmekstrthi 1 chynath khwamruthwipkhxngsbuda 2007 09 13 thi ewyaebkaemchchin khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 05 30 subkhnemux 2010 02 16 The draught resistant dream biofuel is also a water hog khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 09 09 subkhnemux 2007 09 22 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 12 11 subkhnemux 2007 09 22 eruxngskdi icsukhdi 2553 phiskhxngsarskdhyabcaksbudatxkarngxkaelakarecriyetibotkhxngphuchibaekhbbangchnid karprachumwichakar mhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn khrngthi 8 8 9 thnwakhm 2553 mhawithyalyekstrsastr withyaekhtkaaephngaesn Abugre S and Sam S J Q 2010 Evaluating the allelopathic effect of Jatropha curcas aqueous extract on germination radical and plumule length of crops International Journal of Agriculture and Biology 12 769 772 srism suwrrnwngs aelathira wchramngkhl 2555 vththithangchiwphaphkhxngsarskdepluxkphlsbuda karprachumwichakarphvkssastraehngpraethsithy khrngthi 6 mhawithyalysngkhlankhrinthr 28 30 minakhm 2555 Samuel A J S J Kalusalingam A Chellappan D K Gopinath R Radhamani S Husain H A Muruganandham V Promwichit P 2010 Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong Perak West Malaysia Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine 6 5 khwyvthy khafaechux 2551 phvkssastrphunbankhxngchawkaehriyng thitablbancnthraelaaecmhlwng xaephxaemaecm cnghwdechiyngihm withyaniphnth withyasastrmhabnthit mhawithyalyechiyngihm271 hna duchbbetm 2021 06 04 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxunekhruxnghibnamnsbuda khlinikethkhonolyi krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi 2007 10 23 thi ewyaebkaemchchin