สถานีอวกาศฟรีดอม (อังกฤษ: Space Station Freedom) เป็นชื่อโครงการหนึ่งขององค์การนาซาในการก่อสร้างสถานีอวกาศแบบมีคนอยู่อาศัยได้ที่โคจรรอบโลกอย่างถาวร แม้จะได้รับการอนุมัติจากประธานาธิบดีในขณะนั้น คือ โรนัลด์ เรแกน และมีการประกาศเป็น State of the Union Address ในปี ค.ศ. 1984 แต่โครงการฟรีดอมก็ไม่เคยก่อสร้างได้สำเร็จตามที่วางแผนเอาไว้ หลังจากถูกตัดงบประมาณหลายครั้ง ส่วนที่เหลือของโครงการจึงถูกโอนย้ายมาเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสถานีอวกาศนานาชาติ
ภาพจำลองแบบสถานีอวกาศฟรีดอมของ Tom Buzbee ที่เสนอเมื่อต้นปี 1991 | |
ข้อมูลของสถานี | |
---|---|
จำนวนลูกเรือ | 4 |
สถานะภารกิจ | ร่วมโครงการกับสถานีอวกาศนานาชาติ |
ปริมาตรอากาศ | 878 m3 (31,000 cu ft) |
จุดใกล้โลกที่สุด | 400 km (250 mi) |
จุดไกลโลกที่สุด | 400 km (250 mi) |
ความเอียงวงโคจร | 28.5 องศา |
แหล่งข้อมูลอื่น
- NASA's International Space Station website
- Space Station Freedom Design Phases
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthanixwkasfridxm xngkvs Space Station Freedom epnchuxokhrngkarhnungkhxngxngkhkarnasainkarkxsrangsthanixwkasaebbmikhnxyuxasyidthiokhcrrxbolkxyangthawr aemcaidrbkarxnumticakprathanathibdiinkhnann khux ornld eraekn aelamikarprakasepn State of the Union Address inpi kh s 1984 aetokhrngkarfridxmkimekhykxsrangidsaerctamthiwangaephnexaiw hlngcakthuktdngbpramanhlaykhrng swnthiehluxkhxngokhrngkarcungthukoxnyaymaepnswnhnungkhxngokhrngkarsthanixwkasnanachatifridxmphaphcalxngaebbsthanixwkasfridxmkhxng Tom Buzbee thiesnxemuxtnpi 1991khxmulkhxngsthanicanwnlukerux4sthanapharkicrwmokhrngkarkbsthanixwkasnanachatiprimatrxakas878 m3 31 000 cu ft cudiklolkthisud400 km 250 mi cudiklolkthisud400 km 250 mi khwamexiyngwngokhcr28 5 xngsaaehlngkhxmulxunNASA s International Space Station website Space Station Freedom Design Phasesbthkhwamkarbinxwkasniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmul duephimthi sthaniyxy karbinxwkasdkhk