บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
สงครามไครเมีย (อังกฤษ: Crimean War) เป็นการสู้รบตั้งแต่เดือนตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856 ระหว่างรัสเซียและฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นฝ่ายได้รับชนะในตอนท้ายของจักรวรรดิออตโตมัน ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย-ปีเยมอน
สงครามไครเมีย | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามออตโตมันในยุโรปและ | |||||||||
รายละเอียด การล้อมเซวัสโตปอล (1904) โดย | |||||||||
| |||||||||
คู่สงคราม | |||||||||
จักรวรรดิออตโตมัน ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร ซาร์ดีเนีย สนับสนุนโดย: ออสเตรีย | รัสเซีย กรีซ | ||||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||||
กำลัง | |||||||||
รวม: 673,900 นาย 235,568 นาย 309,268 นาย 107,864 นาย 21,000 นาย | รวม: 889,000 นาย ระดมพล 888,000 นาย ใช้งาน 324,478 นาย | ||||||||
ความสูญเสีย | |||||||||
รวม: 223,513 นาย | รวม: 450,125 นาย | ||||||||
ความสูญเสียรวมผู้เสียชีวิตจากโรค ในทุกกรณี ผู้เสียชีวิตจากโรคมีมากกว่าผลรวมของ "เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่" หรือ "เสียชีวิตจากบาดแผล". |
สาเหตุทางภูมิรัฐศาสตร์ของสงครามรวมทั้งความเสื่อมถอยของจักรวรรดิออตโตมัน การขยายอาณาเขตของจักรวรรดิรัสเซียในสงครามรัสเซีย-ตุรกีที่ผ่านมา และบริติชและฝรั่งเศสให้ความสำคัญในการปกป้องจักรวรรดิออตโตมันเพื่อรักษาสมดุลแห่งอำนาจในความร่วมมือแห่งยุโรป จุดลุกเป็นไฟคือความไม่ลงรอยกันเกี่ยวกับสิทธิของชนกลุ่มน้อยชาวคริสเตียนในปาเลสไตน์ ในตอนนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมัน ร่วมกับฝรั่งเศสได้สนับสนุนสิทธิของชาวนิกายโรมันคาทอลิก และรัสเซียได้สนับสนุนสิทธิของชาวนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
คริสตจักรหาทางจัดการความขัดแย้งของพวกเขากับออตโตมัน และเข้ามาทำข้อตลง แต่ทั้งจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศสและจักรพรรดิซาร์นิโคลัสที่ 1 แห่งรัสเซียได้ปฏิเสธที่จะล่าถอยกลับ จักรพรรดินีโคลัสได้ยื่นคำขาดโดยเรียกร้องให้พลเมืองชาวนิกายออร์ทอดอกซ์ในจักรวรรดิออตโตมันมาอยู่ภายใต้การคุ้มครองของพระองค์ บริติชได้พยายามไกล่เกลี่ยและจัดการประนีประนอมซึ่งจักรพรรดินีโคลัสทรงเห็นด้วย เมื่อออตโตมันได้เรียกร้องให้เปลี่ยงแปลงข้อตกลง จักรพรรดินีโคลัสทรงปฏิเสธและเตรียมพร้อมสำหรับสงคราม
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1853 กองทหารรัสเซียเข้ายึด (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโรมาเนีย แต่ตอนนั้นอยู่ภายใต้อำนาจซูเซอเรนทีของออตโตมัน) วันที่ 16 ตุลาคม[ปฏิทินแบบเก่าคือ 4 ตุลาคม] ค.ศ. 1853 ได้รับคำมั่นสัญญาของการสนับสนุนจากฝรั่งเศสและอังกฤษ ออตโตมันได้ประกาศสงครามกับรัสเซีย นำโดยโอมาร์พาช่า ออตโตมานได้ต่อสู้รบการทัพป้องกันอย่างหนักแน่น และหยุดยั้งการรุกคืบของรัสเซียที่ซิลิสตรา (ปัจจุบันในบัลแกเรีย) ปฏิบัติการที่แบ่งแยกในเมืองป้อมของการ์ส ในจักรวรรดิออตโตมันนำไปสู่การล้อม และความพยายามของออตโตมันในการเสริมกำลังกองทหารรักษาการณ์ได้ถูกทำลายโดยกองเรือรัสเซียที่ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1853
ด้วยความกลัวว่าออตโตมันถึงคราวล่มสลาย กองเรือบริติชและฝรั่งเศสได้เข้าสู่ทะเลดำในเดือนมกราคม ค.ศ. 1854 พวกเขามุ่งทางเหนือสู่วาร์นาในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1854 และมาถึงทันเวลาที่รัสเซียจะละทิ้งซิลิสตรา ในทะเลบอลติก ใกล้กับเมืองหลวงของรัสเซียอย่างเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กองเรืออังกฤษ-ฝรั่งเศสได้จัดตั้งการปิดล้อมทางทะเลและปิดกั้นกองเรือบอลติกของรัสเซียที่มีจำนวนมากกว่า ทำให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจต่อรัสเซียโดยการปิดกั้นการค้า ในขณะเดียวกันยังได้บีบบังคับให้รัสเซียเก็บกองทัพขนาดใหญ่ไว้เพื่อพิทักษ์เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กจากการโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรที่อาจเป็นไปได้
ภายหลังจากการสู้รบปะทะเล็กน้อยที่ Kustenge (กอนสตันซาในปัจจุบัน) ผู้บัญชาการฝ่ายสัมพันธมิตรได้ตัดสินใจในการโจมตีฐานทัพเรือหลักของรัสเซียในทะเลดำ เซวัสโตปอลในไครเมีย ภายหลังจากการเตรียมการที่ยืดยาวออกไป กองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรได้ยกพลขึ้นบกที่คาบสมุทรในเดือนกันยายน ค.ศ. 1854 และเคลื่อนทัพไปยังจุดทางใต้ของเซวัสโตปอล ภายหลังจากพวกเขาได้รับชัยชนะในยุทธการที่แม่น้ำอัลมา เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1854 รัสเซียได้ตอบโต้กลับ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ในสิ่งที่กลายเป็นและถูกขับไล่ แต่กองกำลังของกองทัพอังกฤษได้หมดกำลังอย่างร้ายแรงจากผลที่ตามมา การตอบโต้กลับของรัสเซียครั้งที่สอง (เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1854) จบลงในภาวะจนมุมเช่นกัน
ใน ค.ศ. 1855 ราชอาณาจักรซาร์ดิเนียของอิตาลีได้ส่งกองกำลังรบนอกประเทศไปยังไครเมีย เข้าข้างกับฝรั่งเศส บริติชและจักรวรรดิออตโตมัน แนวหน้าตั้งอยู่ที่การล้อมเซวัสโตปอล เกี่ยวข้องกับสภาพที่โหดร้ายสำหรับกองทหารทั้งสองฝ่าย ปฏิบัติการทางทหารขนาดเล็กเกิดขึ้นในคอเคซัส(ค.ศ. 1853-1855) ทะเลขาว (เดือนกรกฏาคม-สิงหาคม ค.ศ. 1854) และแปซิฟิกเหนือ (ค.ศ. 1854-1855)
เซวัสโตปอลถูกตีแตกในที่สุดหลังสิบเอ็ดเดือน ภายหลังจากฝรั่งเศส ด้วยความโดดเดี่ยวและเผชิญหน้ากับการคาดการณ์อันมืดมัวของการบุกครองโดยตะวันตกหากสงครามดำเนินต่อไป รัสเซียได้ร้องขอสันติภาพในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1856 ฝรั่งเศสและบริเตนได้ยินดีกับสถานการณ์ เนื่องจากความขัดแย้งของประเทศของตนไม่เป็นที่นิยม ได้ถูกลงนาม เมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1856 ซึ่งเป็นอันสิ้นสุดสงคราม มันเป็นการสั่งห้ามรัสเซียตั้งฐานทัพเรือในทะเลดำ รัฐประเทศราชของออตโตมันแห่งวอลเลเกียและมอลดาเวียได้รับอิสรภาพอย่างมากมาย ชาวคริสเตียนในจักรวรรดิออตโตมันได้รับฐานะที่เสมอภาคอย่างเป็นทางการ และคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ได้เข้าควบคุมคริสจักรคริสเตียนในข้อพิพาทอีกครั้ง
สงครามไครเมียเป็นหนึ่งในความขัดแย้งครั้งแรกที่กองกำลังทหารใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น กระสุนระเบิดปืนใหญ่ของกองทัพเรือ ทางรถไฟ และโทรเลข สงครามไครเมียเป็นหนึ่งในสงครามครั้งแรก ๆ ที่มีการบันทึกอย่างกว้างขวาง ทั้งเป็นลายลักษณ์อักษรและภาพถ่าย สงครามกลายเป็นสัญลักษณ์ของความล้มเหลวทางด้านโลจิสติกส์ การแพทย์ และยุทธวิธีอย่างรวดเร็ว และการจัดการที่ไม่ดี การตอบสนองในบริเตนได้นำไปสู่ความต้องการวิชาชีพด้านการแพทย์ ความสำเร็จที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดของฟลอเรนซ์ ไนติงเกล ผู้ซึ่งได้รับความสนใจจากทั่วโลกในการบุกเบิกพยาบาลศาสตร์สมัยใหม่ในขณะที่เธอรักษาผู้บาดเจ็บ
สงครามไครเมียได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนอย่างชัดเจนสำหรับจักรวรรดิรัสเซีย สงครามทำให้กองทัพบกจักรวรรดิรัสเซียอ่อนแอ ทำให้ท้องพระคลังหมดลงและทำลายอิทธิพลในยุโรปของรัสเซีย จักรวรรดิจะต้องใช้เวลาสิบปีในการฟื้นฟู ความอัปยศอดสูของรัสเซียได้บีบบังคับให้ชนชั้นสูงที่มีการศึกษาต้องบ่งบอกปัญหาและตระหนักถึงความจำเป็นในการปฏิรูปขั้นพื้นฐาน พวกเขาเห็นว่าการปรับปรุงให้ทันสมัยอย่างรวดเร็วเป็นหนทางเดียวในการกอบกู้สถานะของจักรวรรดิในฐานะมหาอำนาจของยุโรป สงครามจึงกลายเป็นตัวกระตุ้นสำหรับการปฏิรูปสถาบันทางสังคมของรัสเซีย รวมทั้งการยกเลิกทาสติดที่ดินและปรับปรุงระบบยุติธรรม การปกครองตนเองในท้องถิ่น การศึกษา และการรับราชการทหาร
หมายเหตุ
- ตั้งแต่ ค.ศ. 1854
- ตั้งแต่ ค.ศ. 1855
- จนถึง ค.ศ. 1855
- จนถึง ค.ศ. 1854
อ้างอิง
- Badem 2010, p. 180.
- Clodfelter 2017, p. 180.
- Mara Kozelsky, "The Crimean War, 1853–56." Kritika: Explorations in Russian and Eurasian History 13.4 (2012): 903–917 online.
ข้อมูล
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Crimean War
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm sngkhramikhremiy xngkvs Crimean War epnkarsurbtngaeteduxntulakhm kh s 1853 kumphaphnth kh s 1856 rahwangrsesiyaelafaysmphnthmitrthiepnfayidrbchnaintxnthaykhxngckrwrrdixxtotmn frngess shrachxanackr aelarachxanackrsardieniy pieymxnsngkhramikhremiyswnhnungkhxng sngkhramxxtotmninyuorpaelaraylaexiyd karlxmeswsotpxl 1904 odywnthi16 tulakhm kh s 1853 30 minakhm kh s 1856 1853 10 16 1856 03 30 2 pi 5 eduxn 2 spdah txngkarxangxing sthanthikhabsmuthrikhremiy khxekhssehnux bxlkhan thaelda thaelbxltik thaelkhaw tawnxxkiklphldinaedn epliynaeplngrsesiysuyesiysamehliympakaemnadanubaelakhusngkhram ckrwrrdixxtotmn frngess shrachxanackr sardieniy snbsnunody xxsetriy rsesiy krisphubngkhbbychaaelaphunaxbdul emcidthi 1nopeliynthi 3exirlaehngaexebxrdiniwekhantphalemxrstnniokhlsthi 1xaelkhsndrthi 2paewl nahimxf kalngrwm 673 900 nay 235 568 nay 309 268 nay 107 864 nay 21 000 nayrwm 889 000 nay radmphl 888 000 nay ichngan 324 478 naykhwamsuyesiyrwm 223 513 nay 45 400 nay 135 485 nay 40 462 nay 2 166 nayrwm 450 125 naykhwamsuyesiyrwmphuesiychiwitcakorkh inthukkrni phuesiychiwitcakorkhmimakkwaphlrwmkhxng esiychiwitinkarptibtihnathi hrux esiychiwitcakbadaephl saehtuthangphumirthsastrkhxngsngkhramrwmthngkhwamesuxmthxykhxngckrwrrdixxtotmn karkhyayxanaekhtkhxngckrwrrdirsesiyinsngkhramrsesiy turkithiphanma aelabritichaelafrngessihkhwamsakhyinkarpkpxngckrwrrdixxtotmnephuxrksasmdulaehngxanacinkhwamrwmmuxaehngyuorp cudlukepnifkhuxkhwamimlngrxyknekiywkbsiththikhxngchnklumnxychawkhrisetiyninpaelsitn intxnnnepnswnhnungkhxngckrwrrdixxtotmn rwmkbfrngessidsnbsnunsiththikhxngchawnikayormnkhathxlik aelarsesiyidsnbsnunsiththikhxngchawnikayxisethirnxxrthxdxks khristckrhathangcdkarkhwamkhdaeyngkhxngphwkekhakbxxtotmn aelaekhamathakhxtlng aetthngckrphrrdinopeliynthi 3 aehngfrngessaelackrphrrdisarniokhlsthi 1 aehngrsesiyidptiesththicalathxyklb ckrphrrdiniokhlsidyunkhakhadodyeriykrxngihphlemuxngchawnikayxxrthxdxksinckrwrrdixxtotmnmaxyuphayitkarkhumkhrxngkhxngphraxngkh britichidphyayamiklekliyaelacdkarpranipranxmsungckrphrrdiniokhlsthrngehndwy emuxxxtotmnideriykrxngihepliyngaeplngkhxtklng ckrphrrdiniokhlsthrngptiesthaelaetriymphrxmsahrbsngkhram ineduxnkrkdakhm kh s 1853 kxngthharrsesiyekhayud pccubnepnswnhnungkhxngormaeniy aettxnnnxyuphayitxanacsuesxernthikhxngxxtotmn wnthi 16 tulakhm ptithinaebbekakhux 4 tulakhm kh s 1853 idrbkhamnsyyakhxngkarsnbsnuncakfrngessaelaxngkvs xxtotmnidprakassngkhramkbrsesiy naodyoxmarphacha xxtotmanidtxsurbkarthphpxngknxyanghnkaenn aelahyudyngkarrukkhubkhxngrsesiythisilistra pccubninblaekeriy ptibtikarthiaebngaeykinemuxngpxmkhxngkars inckrwrrdixxtotmnnaipsukarlxm aelakhwamphyayamkhxngxxtotmninkaresrimkalngkxngthharrksakarnidthukthalayodykxngeruxrsesiythiineduxnphvscikayn kh s 1853 dwykhwamklwwaxxtotmnthungkhrawlmslay kxngeruxbritichaelafrngessidekhasuthaeldaineduxnmkrakhm kh s 1854 phwkekhamungthangehnuxsuwarnaineduxnmithunayn kh s 1854 aelamathungthnewlathirsesiycalathingsilistra inthaelbxltik iklkbemuxnghlwngkhxngrsesiyxyangesntpietxrsebirk kxngeruxxngkvs frngessidcdtngkarpidlxmthangthaelaelapidknkxngeruxbxltikkhxngrsesiythimicanwnmakkwa thaihekidkhwamesiyhaythangesrsthkictxrsesiyodykarpidknkarkha inkhnaediywknyngidbibbngkhbihrsesiyekbkxngthphkhnadihyiwephuxphithksesntpietxrsebirkcakkarocmtikhxngfaysmphnthmitrthixacepnipid phayhlngcakkarsurbpathaelknxythi Kustenge kxnstnsainpccubn phubychakarfaysmphnthmitridtdsinicinkarocmtithanthpheruxhlkkhxngrsesiyinthaelda eswsotpxlinikhremiy phayhlngcakkaretriymkarthiyudyawxxkip kxngkalngfaysmphnthmitridykphlkhunbkthikhabsmuthrineduxnknyayn kh s 1854 aelaekhluxnthphipyngcudthangitkhxngeswsotpxl phayhlngcakphwkekhaidrbchychnainyuththkarthiaemnaxlma emuxwnthi 20 knyayn kh s 1854 rsesiyidtxbotklb emuxwnthi 25 tulakhm insingthiklayepnaelathukkhbil aetkxngkalngkhxngkxngthphxngkvsidhmdkalngxyangrayaerngcakphlthitamma kartxbotklbkhxngrsesiykhrngthisxng eduxnphvscikayn kh s 1854 cblnginphawacnmumechnkn in kh s 1855 rachxanackrsardieniykhxngxitaliidsngkxngkalngrbnxkpraethsipyngikhremiy ekhakhangkbfrngess britichaelackrwrrdixxtotmn aenwhnatngxyuthikarlxmeswsotpxl ekiywkhxngkbsphaphthiohdraysahrbkxngthharthngsxngfay ptibtikarthangthharkhnadelkekidkhuninkhxekhss kh s 1853 1855 thaelkhaw eduxnkrktakhm singhakhm kh s 1854 aelaaepsifikehnux kh s 1854 1855 eswsotpxlthuktiaetkinthisudhlngsibexdeduxn phayhlngcakfrngess dwykhwamoddediywaelaephchiyhnakbkarkhadkarnxnmudmwkhxngkarbukkhrxngodytawntkhaksngkhramdaenintxip rsesiyidrxngkhxsntiphaphineduxnminakhm kh s 1856 frngessaelabrietnidyindikbsthankarn enuxngcakkhwamkhdaeyngkhxngpraethskhxngtnimepnthiniym idthuklngnam emuxwnthi 30 minakhm kh s 1856 sungepnxnsinsudsngkhram mnepnkarsnghamrsesiytngthanthpheruxinthaelda rthpraethsrachkhxngxxtotmnaehngwxlelekiyaelamxldaewiyidrbxisrphaphxyangmakmay chawkhrisetiyninckrwrrdixxtotmnidrbthanathiesmxphakhxyangepnthangkar aelakhristckrxxrthxdxksidekhakhwbkhumkhrisckrkhrisetiyninkhxphiphathxikkhrng sngkhramikhremiyepnhnunginkhwamkhdaeyngkhrngaerkthikxngkalngthharichethkhonolyismyihm echn krasunraebidpunihykhxngkxngthpherux thangrthif aelaothrelkh sngkhramikhremiyepnhnunginsngkhramkhrngaerk thimikarbnthukxyangkwangkhwang thngepnlaylksnxksraelaphaphthay sngkhramklayepnsylksnkhxngkhwamlmehlwthangdanolcistiks karaephthy aelayuththwithixyangrwderw aelakarcdkarthiimdi kartxbsnxnginbrietnidnaipsukhwamtxngkarwichachiphdankaraephthy khwamsaercthimichuxesiyngodngdngthisudkhxngflxerns intingekl phusungidrbkhwamsniccakthwolkinkarbukebikphyabalsastrsmyihminkhnathiethxrksaphubadecb sngkhramikhremiyidklayepncudepliynxyangchdecnsahrbckrwrrdirsesiy sngkhramthaihkxngthphbkckrwrrdirsesiyxxnaex thaihthxngphrakhlnghmdlngaelathalayxiththiphlinyuorpkhxngrsesiy ckrwrrdicatxngichewlasibpiinkarfunfu khwamxpysxdsukhxngrsesiyidbibbngkhbihchnchnsungthimikarsuksatxngbngbxkpyhaaelatrahnkthungkhwamcaepninkarptirupkhnphunthan phwkekhaehnwakarprbprungihthnsmyxyangrwderwepnhnthangediywinkarkxbkusthanakhxngckrwrrdiinthanamhaxanackhxngyuorp sngkhramcungklayepntwkratunsahrbkarptirupsthabnthangsngkhmkhxngrsesiy rwmthngkarykelikthastidthidinaelaprbprungrabbyutithrrm karpkkhrxngtnexnginthxngthin karsuksa aelakarrbrachkarthharhmayehtutngaet kh s 1854 tngaet kh s 1855 cnthung kh s 1855 cnthung kh s 1854xangxingBadem 2010 p 180 Clodfelter 2017 p 180 Mara Kozelsky The Crimean War 1853 56 Kritika Explorations in Russian and Eurasian History 13 4 2012 903 917 online khxmul Badem Candan 2010 The Ottoman Crimean War 1853 1856 Leiden Brill ISBN 978 90 04 18205 9 Clodfelter M 2017 Warfare and Armed Conflicts A Statistical Encyclopedia of Casualty and Other Figures 1492 2015 4th ed Jefferson North Carolina McFarland ISBN 978 0786474707 aehlngkhxmulxunwikisxrs mibthkhwamcak ekiywkb Crimean War wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb Crimean War bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk