ศิลปะเชิง 3 มิติ หรือ ศิลปะลวงตาทรอมพลุยล์ หรือ ทรอมพลุยล์ (ฝรั่งเศส: Trompe-l'œil, ออกเสียง: tʁɔ̃p lœj) มาจากภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่า “ลวงตา” เป็นเทคนิคการสร้างศิลปะแบบหนึ่งที่ทำให้ผลที่ออกมาดูเหมือนมีความเป็นภาพ 3 มิติแม้ว่าจะเป็นจิตรกรรมสองมิติ ซึ่งทำโดยการเขียนให้ลวงตา
ประวัติของจิตรกรรม
แม้ว่า “ทรอมพลุยล์” จะมีต้นกำเนิดมาจากสมัยศิลปะบาโรกเมื่อกล่าวถึงการเขียนแบบลวงตา แต่การเขียนลักษณะนี้มีมานานก่อนหน้านั้น ที่มักจะใช้ในการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง ตัวอย่างของงานที่ใช้การเขียนลักษณะนี้ก็มีให้เห็นอยู่บ้างในศิลปะจากสมัยกรีกและโรมันที่พบในปอมเปอี การเขียน “ทรอมพลุยล์” ที่นิยมกันก็มักจะเขียนเป็นหน้าต่าง ประตู หรือโถงทางเดิน เพื่อจะทำให้ห้องดูใหญ่โตกว้างขวางขึ้น
เกร็ดจากสมัยกรีกโบราณเล่าถึงการแข่งขันระหว่างจิตรกรผู้มีชื่อเสียงสองคน (Zeuxis) เขียนภาพนิ่งที่ดูเหมือนจริงจนนกบินลงมาดูองุ่นในภาพ (Parrhasius)ซึ่งเป็นคู่แข่งซูซิสก็บอกซูซิสให้ดึงม่านที่ขาดรุ่งริ่งเพื่อที่จะได้ดูภาพหลังม่าน พาร์ราเซียสชนะการแข่งขันเพราะม่านที่ซูซิสเห็นโดยแท้ที่จริงแล้วเป็นภาพเขียน
อ้างอิง
- CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Barocco Style[1]
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะเชิง 3 มิติ
ระเบียงภาพ
- ภาพเหมือนของนักบวชคาร์ธูเชียนโดยเพทรัส คริสตัส (ค.ศ. 1446) สังเกตดูแมลงวันทางตอนล่างของภาพ
- ค.ศ. 1504 ภาพนิ่งแบบสามมิติภาพแรกตั้งแต่ยุคโบราณ
- “จิตรกรกับกล้องสูบยาและหนังสือ” โดย (ราว ค.ศ. 1654)
- โดย
(ค.ศ. 1750) - ภาพหนังสือพิมพ์ทและ
สิ่งต่างๆ ที่คาดอยู่บนผนัง
ด้วยสายหนัง - ภาพลวงตาในห้องแต่งตัวของแจ็คคี เคนเนดี
(ค.ศ. 1970) - ภาพพระมารีลอยตัวขึ้นไปบนสวรรค์บนโดมของ
- ไวโอลินโดย
วิลเลียม ไมเคิล ฮาร์เน็ตต์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha silpaeching 3 miti hrux silpalwngtathrxmphluyl hrux thrxmphluyl frngess Trompe l œil xxkesiyng tʁɔ p lœj macakphasafrngessthiaeplwa lwngta epnethkhnikhkarsrangsilpaaebbhnungthithaihphlthixxkmaduehmuxnmikhwamepnphaph 3 mitiaemwacaepncitrkrrmsxngmiti sungthaodykarekhiynihlwngta hlbhnikarwicarn ody kh s 1874prawtikhxngcitrkrrmaemwa thrxmphluyl camitnkaenidmacaksmysilpabaorkemuxklawthungkarekhiynaebblwngta aetkarekhiynlksnanimimanankxnhnann thimkcaichinkarekhiyncitrkrrmfaphnng twxyangkhxngnganthiichkarekhiynlksnanikmiihehnxyubanginsilpacaksmykrikaelaormnthiphbinpxmepxi karekhiyn thrxmphluyl thiniymknkmkcaekhiynepnhnatang pratu hruxothngthangedin ephuxcathaihhxngduihyotkwangkhwangkhun ekrdcaksmykrikobranelathungkaraekhngkhnrahwangcitrkrphumichuxesiyngsxngkhn Zeuxis ekhiynphaphningthiduehmuxncringcnnkbinlngmaduxnguninphaph Parrhasius sungepnkhuaekhngsusiskbxksusisihdungmanthikhadrungringephuxthicaidduphaphhlngman pharraesiyschnakaraekhngkhnephraamanthisusisehnodyaeththicringaelwepnphaphekhiynxangxingCATHOLIC ENCYCLOPEDIA Barocco Style 1 duephimphaphlwngta priphumisammitiaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb silpaeching 3 mitiraebiyngphaphphaphehmuxnkhxngnkbwchkharthuechiynodyephthrs khrists kh s 1446 sngektduaemlngwnthangtxnlangkhxngphaph kh s 1504 phaphningaebbsammitiphaphaerktngaetyukhobran citrkrkbklxngsubyaaelahnngsux ody raw kh s 1654 ody kh s 1750 phaphhnngsuxphimphthaela singtang thikhadxyubnphnng dwysayhnng phaphlwngtainhxngaetngtwkhxngaeckhkhi ekhnendi kh s 1970 phaphphramarilxytwkhunipbnswrrkhbnodmkhxng iwoxlinody wileliym imekhil harenttbthkhwamsilpkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk