ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ระวังสับสนกับศิลปะสมัยใหม่ (Modern art)
บทความนี้ไม่มีจาก |
ศิลปะร่วมสมัย (อังกฤษ: Contemporary art) หมายถึง ศิลปะ ณ ปัจจุบัน เริ่มต้นขึ้นในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 หรือช่วงต้นศตวรรษที่ 21 ศิลปินร่วมสมัยมักทำงานที่ได้รับอิทธิพลกว้างขวางจากความเป็นโลกาภิวัฒน์ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการพัฒนาอย่างก้าวไกลในด้านเทคโนโลยี งานศิลปะร่วมสมัยเป็นการรวมตัวกันอยากหลากหลายของทั้งวัสดุ วิธีการ แนวความคิด และหัวข้อที่ทำให้เกิดการท้าทายต่อขอบเขตของงานศิลปะรูปแบบเดิม ๆ ที่เป็นที่นิยมในช่วงศตวรรษที่ 20 ด้วยความที่ศิลปะร่วมสมัยนั้นมีความหลากหลายเป็นอันมาก เราสามารถจำแนกศิลปะร่วมสมัยได้โดยดูจากความยืดหยุ่นของรูปแบบ โครงสร้างหลักการ แนวความคิด และการแบ่งออกเป็นลัทธิต่าง ๆ ศิลปะร่วมสมัยเป็นส่วนหนึ่งของบทสนทนาทางวัฒนธรรมที่ซึ่งเกี่ยวข้องกับบริบทขอบข่ายที่กว้างขึ้น ได้แก่ อัตลักษณ์เฉพาะตัวและอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ครอบครัว สังคม รวมไปถึงประเทศชาติ
ในภาษาพูดโดยทั่วไป คำว่า ศิลปะสมัยใหม่ และศิลปะร่วมสมัย เป็นคำพ้องความหมาย สามารถเห็นการใช้สลับกันได้โดยบุคคลทั่วไปที่ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะ
ขอบเขต
บางคนให้คำนิยามศิลปะร่วมสมัยว่าเป็นงานศิลปะที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นในช่วงชีวิตของเรา ณ ปัจจุบัน โดยตระหนักว่าช่วงชีวิตของเรานั้นมีระยะเวลาที่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ยังมีการยอมรับกันว่าคำนิยามนี้มุ่งไปที่ขอบเขตใดขอบเขตหนึ่งเป็นพิเศษ
การจัดหมวดหมู่ของคำว่า "ศิลปะร่วมสมัย" ว่าเป็นประเภทหนึ่งของศิลปะมากกว่าที่จะเป็นแค่คำคุณศัพท์ทั่วไปได้เริ่มต้นขึ้นในช่วงต้นของลัทธิสมัยใหม่ท่ามกลางประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษในปี ค.ศ. 1910 นักวิจารณ์ได้ก่อตั้งชุมชนศิลปะร่วมสมัยขึ้น (Contemporary Art Society) โดยมีจุดประสงค์เพื่อซื้องานศิลปะเพื่อนำไปจัดวางในพิพิธภัณฑ์สาธารณะต่าง ๆ นอกจากนี้ในช่วงทศวรรษ 1930 ยังมีสถาบันอื่น ๆ ที่ใช้ชื่อเดียวกันนี้ได้ก่อตั้งขึ้นอีกมากมาย เช่นการก่อตั้งชุมชนศิลปะร่วมสมัยแห่งแอดิเลด (Contemporary Art Society of Adelaide)ในประเทศออสเตรเลียในปี ค.ศ. 1938 และยังเพิ่มจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ หลังปี ค.ศ. 1945 นอกจากนั้นในเมืองบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้มีการเปลี่ยนชื่อสถาบันทางศิลปะต่าง ๆ จากเดิมที่เคยใช้คำว่าศิลปะสมัยใหม่ กลายเป็นสถาบันศิลปะร่วมสมัย (Institute of Contemporary Art) เนื่องจากลัทธิสมัยใหม่ได้ถูกจำกัดความให้เป็นหนึ่งในการเคลื่อนไหวทางศิลปะทางประวัติศาสตร์ ศิลปะสมัยใหม่จึงถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นศิลปะร่วมสมัย คำจำกัดความของคำว่าศิลปะร่วมสมัยนั้นเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาโดยผูกติดอยู่กับความเป็นปัจจุบัน และจุดเริ่มต้นของความเป็นร่วมสมัยก็ถูกเคลื่อนไปข้างหน้าตามเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป แม้แต่งานศิลปะที่ชุมชนศิลปะร่วมสมัยซื้อไว้ในปี ค.ศ. 1910 ก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นศิลปะร่วมสมัยอีกต่อไปแล้ว
จุดเปลี่ยนสำคัญของรูปแบบทางศิลปะ ได้แก่ การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองและช่วงทศวรรษที่ 1960 โดยตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 เป็นต้นมา ศิลปะก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้มีจุดหักเหที่ชัดเจนนัก และคำจำกัดความว่าอะไรเป็นศิลปะร่วมสมัยในช่วงทศวรรษที่ 2010 ยังมีการผันแปรอยู่ตลอดเวลา โดยส่วนใหญ่คำนิยามเหล่านี้มักจะคลุมเครือ แต่จะรวมไปถึงงานศิลปะในช่วง 20 ปีที่ผ่านมาและมักย้อนไปถึงช่วงประมาณปี ค.ศ. 1970 ตัวอย่างคำจำกัดความของศิลปะร่วมสมัยในช่วงเวลานี้ ได้แก่ "ศิลปะแห่งช่วงปลายศตวรรษที่ 20 และช่วงต้นศตวรรษที่ 21", "ศิลปะแห่งช่วงปลายศตวรรษที่ 20 และช่วงต้นศตวรรษที่ 21ซึ่งเป็นทั้งผลลัพธ์และการปฏิเสธศิลปะสมัยใหม่", "ถ้าจะพูดให้ถูก คำว่าศิลปะร่วมสมัยใช้พูดถึงศิลปะของศิลปินที่ยังมีชีวิตอยู่", "ศิลปะที่เกิดขึ้นตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1960 หรือ 1970 จนกระทั่งวินาทีนี้" นอกจากนี้ในวงการพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ที่มีงานสะสมเป็นศิลปะร่วมสมัยก็ต้องยอมรับว่าการมีอายุเพิ่มขึ้นของชิ้นงานนั้นเป็นสิ่งที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ พิพิธภัณฑ์หลายแห่งจึงมักเลี่ยงไปใช้คำว่า "ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย" (Modern and Contemporary Art) แทน ส่วนหอศิลป์ที่เล็กลงมา หรือนิตยสารทางศิลปะต่าง ๆ อาจใช้คำนิยามความเป็นศิลปะร่วมสมัยที่แคบลง โดยบางครั้งอาจจะจำกัดอยู่แค่งานศิลปะตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา ยังมีอีกหนึ่งประเด็นที่ถูกหลีกเลี่ยงจากหอศิลป์และกลุ่มนักวิจารณ์ นั่นคือ การจำแนกผลงานศิลปะว่าเป็นศิลปะร่วมสมัยหรือไม่ของศิลปินที่ซึ่งแม้จะสิ้นสุดอาชีพศิลปินลงแล้ว แต่ยังคงมีอิทธิพลต่อเนื่องหรือเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนไหวทางศิลปะที่ยังคงดำเนินต่อมาจนถึงปัจจุบัน
นักสังคมวิทยานาตาลี ไฮนิช () จำแนกความแตกต่างระหว่างศิลปะสมัยใหม่กับศิลปะร่วมสมัยโดยอธิบายว่าเป็นสองรูปแบบที่ต่างกันโดยที่มีประวัติศาสตร์ทับซ้อนกันในบางจุด ไฮนิชพบว่าในขณะที่ "ศิลปะสมัยใหม่" พยายามท้าทายรูปแบบเดิม ๆ "ศิลปะร่วมสมัย" กลับพยายามที่จะท้าทายแนวความคิดเบื้องหลังของงานศิลปะ ไฮนิชจัดว่างาน Fountain ของมาร์แซล ดูชองป์ (ที่ถูกสร้างขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1910 ซึ่งเป็นช่วงกลางและช่วงรุ่งเรืองของศิลปะสมัยใหม่) เป็นจุดเริ่มต้นของศิลปะร่วมสมัย โดยได้รับแรงผลักดันในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ร่วมกับศิลปะการแสดงของกลุ่มกูไต(Gutai group) งานที่ใช้สีฟ้าเพียงเฉดเดียวของอีฟว์ แกล็ง (Yves Klein) และงาน Erased de Kooning Drawing ซึ่งเป็นกระดาษเปล่าที่ถูกสร้างสรรค์จากการลบของโรเบิร์ต เราเชนเบิร์ก (Robert Rauschenberg)
สาระสำคัญ
หนึ่งในอุปสรรคของการเข้าถึงงานศิลปะร่วมสมัยนั้นคือความหลากหลายของตัวชิ้นงาน ทั้งในด้านวัสดุ รูปแบบ แนวความคิด และแม้กระทั่งเรื่องของระยะเวลา ศิลปะร่วมสมัยไม่ได้ถูกจำแนกประเภทได้โดยมีชุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง, แนวคิด, หรือลัทธิที่เป็นหลักที่สำคัญเหมือนเช่นที่เราเห็นได้ในงานศิลปะรูปแบบอื่นหรือช่วงระยะเวลาหรือการเคลื่อนไหวทางศิลปะอื่น ๆ หากจะพูดกันอย่างกว้าง ๆ แล้ว การที่เรามองไปยังลัทธิสมัยใหม่เปรียบได้กับการมองไปที่หลักการของมัน หลักการซึ่งมุ่งเน้นไปที่ตัวเองศิลปะเองเช่นการพิจารณาวัสดุที่นำมาใช้ พิจารณาการใช้เส้น, รูปร่าง, สี หรือรูปทรง เช่นเดียวกับลัทธิประทับใจ หรืออิมเพรสชั่นนิสม์ (Impressionism) ที่มักพิจารณาไปที่การรับรู้ของช่วงเวลานั้น ๆ ผ่านการใช้แสงและสี เพื่อเป็นการท้าทายงานศิลปะที่มีรูปแบบตายตัวจากลัทธิสัจนิยม (ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกระบวนการทางศิลปะเช่นกัน) ในทางตรงกันข้าม ศิลปะร่วมสมัยไม่มีหลักการใดหลักการหนึ่งที่สามารถนำมาพิจารณาได้ โดยมุมมองของศิลปะร่วมสมัยนั้นมักจะกำกวม และบางที่ก็มักจะเป็นภาพสะท้อนของโลกปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าหลักการของศิลปะร่วมสมัยนั้นจะต้องมีความขัดแย้ง สับสน และมีขอบเขตที่เปิดกว้าง อย่างไรก็ตาม เรายังสามารถเห็นขอบเขตคร่าว ๆ ได้บ้าง หลัก ๆ คือ อัตลักษณ์ทางการเมือง, ร่างกาย, โลกาภิวัฒน์และการย้ายถิ่นฐาน, เทคโนโลยี, สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย, เวลาและความทรงจำ และการวิจารณ์ความเป็นสถาบันและการเมือง ทฤษฎีจากลัทธิต่าง ๆ ได้แก่ ลัทธิหลังสมัยใหม่ (Post-modern), ลัทธิหลังโครงสร้างนิยม (Post-structuralist), เฟมินิสต์ (Feminist), และลัทธิมาร์กซ์ (Marxist) ถูกนำมาใช้เป็นบทบาทหลักในการพัฒนาทฤษฎีร่วมสมัยในโลกศิลปะ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud rawngsbsnkbsilpasmyihm Modern art bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir silparwmsmy xngkvs Contemporary art hmaythung silpa n pccubn erimtnkhuninchwngplaystwrrsthi 20 hruxchwngtnstwrrsthi 21 silpinrwmsmymkthanganthiidrbxiththiphlkwangkhwangcakkhwamepnolkaphiwthn khwamhlakhlaythangwthnthrrm aelakarphthnaxyangkawiklindanethkhonolyi ngansilparwmsmyepnkarrwmtwknxyakhlakhlaykhxngthngwsdu withikar aenwkhwamkhid aelahwkhxthithaihekidkarthathaytxkhxbekhtkhxngngansilparupaebbedim thiepnthiniyminchwngstwrrsthi 20 dwykhwamthisilparwmsmynnmikhwamhlakhlayepnxnmak erasamarthcaaenksilparwmsmyidodyducakkhwamyudhyunkhxngrupaebb okhrngsranghlkkar aenwkhwamkhid aelakaraebngxxkepnlththitang silparwmsmyepnswnhnungkhxngbthsnthnathangwthnthrrmthisungekiywkhxngkbbribthkhxbkhaythikwangkhun idaek xtlksnechphaatwaelaxtlksnthangwthnthrrm khrxbkhrw sngkhm rwmipthungpraethschati inphasaphudodythwip khawa silpasmyihm aelasilparwmsmy epnkhaphxngkhwamhmay samarthehnkarichslbknidodybukhkhlthwipthiimidepnphuechiywchaythangdansilpakhxbekhtbangkhnihkhaniyamsilparwmsmywaepnngansilpathithuksrangsrrkhkhuninchwngchiwitkhxngera n pccubn odytrahnkwachwngchiwitkhxngerannmirayaewlathiaetktangkn xyangirktam yngmikaryxmrbknwakhaniyamnimungipthikhxbekhtidkhxbekhthnungepnphiess karcdhmwdhmukhxngkhawa silparwmsmy waepnpraephthhnungkhxngsilpamakkwathicaepnaekhkhakhunsphththwipiderimtnkhuninchwngtnkhxnglththismyihmthamklangpraethsthiichphasaxngkvsepnhlk inkrunglxndxn praethsxngkvsinpi kh s 1910 nkwicarnidkxtngchumchnsilparwmsmykhun Contemporary Art Society odymicudprasngkhephuxsuxngansilpaephuxnaipcdwanginphiphithphnthsatharnatang nxkcakniinchwngthswrrs 1930 yngmisthabnxun thiichchuxediywknniidkxtngkhunxikmakmay echnkarkxtngchumchnsilparwmsmyaehngaexdield Contemporary Art Society of Adelaide inpraethsxxsetreliyinpi kh s 1938 aelayngephimcanwnmakkhuneruxy hlngpi kh s 1945 nxkcaknninemuxngbxstn praethsshrthxemrika idmikarepliynchuxsthabnthangsilpatang cakedimthiekhyichkhawasilpasmyihm klayepnsthabnsilparwmsmy Institute of Contemporary Art enuxngcaklththismyihmidthukcakdkhwamihepnhnunginkarekhluxnihwthangsilpathangprawtisastr silpasmyihmcungthukepliynihklayepnsilparwmsmy khacakdkhwamkhxngkhawasilparwmsmynnepliynaeplngxyutlxdewlaodyphuktidxyukbkhwamepnpccubn aelacuderimtnkhxngkhwamepnrwmsmykthukekhluxnipkhanghnatamewlathiepliynaeplngip aemaetngansilpathichumchnsilparwmsmysuxiwinpi kh s 1910 kimxaceriykidwaepnsilparwmsmyxiktxipaelw cudepliynsakhykhxngrupaebbthangsilpa idaek karsinsudkhxngsngkhramolkkhrngthisxngaelachwngthswrrsthi 1960 odytngaetpi kh s 1960 epntnma silpakidmikarepliynaeplngxyangtxenuxngodyimidmicudhkehthichdecnnk aelakhacakdkhwamwaxairepnsilparwmsmyinchwngthswrrsthi 2010 yngmikarphnaeprxyutlxdewla odyswnihykhaniyamehlanimkcakhlumekhrux aetcarwmipthungngansilpainchwng 20 pithiphanmaaelamkyxnipthungchwngpramanpi kh s 1970 twxyangkhacakdkhwamkhxngsilparwmsmyinchwngewlani idaek silpaaehngchwngplaystwrrsthi 20 aelachwngtnstwrrsthi 21 silpaaehngchwngplaystwrrsthi 20 aelachwngtnstwrrsthi 21sungepnthngphllphthaelakarptiesthsilpasmyihm thacaphudihthuk khawasilparwmsmyichphudthungsilpakhxngsilpinthiyngmichiwitxyu silpathiekidkhuntngaetchwngthswrrsthi 1960 hrux 1970 cnkrathngwinathini nxkcakniinwngkarphiphithphnthtang thimingansasmepnsilparwmsmyktxngyxmrbwakarmixayuephimkhunkhxngchinngannnepnsingthiimxachlikeliyngid phiphithphnthhlayaehngcungmkeliyngipichkhawa silpasmyihmaelarwmsmy Modern and Contemporary Art aethn swnhxsilpthielklngma hruxnitysarthangsilpatang xacichkhaniyamkhwamepnsilparwmsmythiaekhblng odybangkhrngxaccacakdxyuaekhngansilpatngaetpi kh s 2000 epntnma yngmixikhnungpraednthithukhlikeliyngcakhxsilpaelaklumnkwicarn nnkhux karcaaenkphlngansilpawaepnsilparwmsmyhruximkhxngsilpinthisungaemcasinsudxachiphsilpinlngaelw aetyngkhngmixiththiphltxenuxnghruxepnswnhnungkhxngkarekhluxnihwthangsilpathiyngkhngdaenintxmacnthungpccubn nksngkhmwithyanatali ihnich caaenkkhwamaetktangrahwangsilpasmyihmkbsilparwmsmyodyxthibaywaepnsxngrupaebbthitangknodythimiprawtisastrthbsxnkninbangcud ihnichphbwainkhnathi silpasmyihm phyayamthathayrupaebbedim silparwmsmy klbphyayamthicathathayaenwkhwamkhidebuxnghlngkhxngngansilpa ihnichcdwangan Fountain khxngmaraesl duchxngp thithuksrangkhuninchwngthswrrsthi 1910 sungepnchwngklangaelachwngrungeruxngkhxngsilpasmyihm epncuderimtnkhxngsilparwmsmy odyidrbaerngphlkdninchwnghlngsngkhramolkkhrngthisxng rwmkbsilpakaraesdngkhxngklumkuit Gutai group nganthiichsifaephiyngechdediywkhxngxifw aeklng Yves Klein aelangan Erased de Kooning Drawing sungepnkradaseplathithuksrangsrrkhcakkarlbkhxngorebirt eraechnebirk Robert Rauschenberg sarasakhyhnunginxupsrrkhkhxngkarekhathungngansilparwmsmynnkhuxkhwamhlakhlaykhxngtwchinngan thngindanwsdu rupaebb aenwkhwamkhid aelaaemkrathngeruxngkhxngrayaewla silparwmsmyimidthukcaaenkpraephthidodymichudrupaebbidrupaebbhnung aenwkhid hruxlththithiepnhlkthisakhyehmuxnechnthieraehnidinngansilparupaebbxunhruxchwngrayaewlahruxkarekhluxnihwthangsilpaxun hakcaphudknxyangkwang aelw karthieramxngipynglththismyihmepriybidkbkarmxngipthihlkkarkhxngmn hlkkarsungmungennipthitwexngsilpaexngechnkarphicarnawsduthinamaich phicarnakarichesn ruprang si hruxrupthrng echnediywkblththiprathbic hruxximephrschnnism Impressionism thimkphicarnaipthikarrbrukhxngchwngewlann phankarichaesngaelasi ephuxepnkarthathayngansilpathimirupaebbtaytwcaklththiscniym sungepnxikhnungkrabwnkarthangsilpaechnkn inthangtrngknkham silparwmsmyimmihlkkaridhlkkarhnungthisamarthnamaphicarnaid odymummxngkhxngsilparwmsmynnmkcakakwm aelabangthikmkcaepnphaphsathxnkhxngolkpccubn xacklawidwahlkkarkhxngsilparwmsmynncatxngmikhwamkhdaeyng sbsn aelamikhxbekhtthiepidkwang xyangirktam erayngsamarthehnkhxbekhtkhraw idbang hlk khux xtlksnthangkaremuxng rangkay olkaphiwthnaelakaryaythinthan ethkhonolyi sngkhmaelawthnthrrmrwmsmy ewlaaelakhwamthrngca aelakarwicarnkhwamepnsthabnaelakaremuxng thvsdicaklththitang idaek lththihlngsmyihm Post modern lththihlngokhrngsrangniym Post structuralist efminist Feminist aelalththimarks Marxist thuknamaichepnbthbathhlkinkarphthnathvsdirwmsmyinolksilpa bthkhwamsilpkrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk https www mutualart com Article Combining Past Present and Future The DCC6DC54DE5810EF