ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (อินโดนีเซีย: Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (อินโดนีเซีย: Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู่
ประวัติ
ศาสนาฮินดูเข้าสู่อินโดนีเซียตั้งแต่ศตวรรษแรกโดยชาวอินเดียที่เข้ามาค้าขาย ก่อนถูกแทนที่โดยศาสนาพุทธที่กลายเป็นศาสนาหลักของเกาะสุมาตราและชวา แต่ภายหลังการเข้ามาของศาสนาอิสลามช่วงศตวรรษที่ 14 และด้วยอุปสรรคทางวัฒนธรรมบางประการ จึงทำให้บาหลีเป็นแหล่งพักพิงสุดท้ายของชาวฮินดูยุคก่อนและประชากรส่วนใหญ่ของบาหลียังคงเป็นฮินดูมาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีชุมชนชาวฮินดูจำนวนมากอาศัยอยู่บริเวณหมู่เกาะขนาดน้อยทางตะวันออกของเกาะชวา ส่วนบริเวณเกาะชวาทางฝั่งตะวันออกสุดของเกาะก็ยังมีหมู่บ้านฮินดูกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป
หลักธรรม
หลักธรรมทางศาสนาขั้นพื้นฐาน หากประพฤติดีปฏิบัติชอบจะเรียกว่า ธรรมะ หากประพฤติชั่วจะเรียกว่า ชาวฮินดูจึงต้องมุ่งแสวงหาความสมดุลกันระหว่างธรรมะและอธรรมดังกล่าวจึงจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด และบรรลุสิ่งที่สูงสุดคือ โมกษะ
ศาสนาฮินดูแบบบาหลีแบ่งจักรวาลวิทยาออกเป็นสามภพคือ สวรรค์ (suarga ซูวาร์กา) อันเป็นที่พำนักของทวยเทพ โลก (buwah บูวะฮ์) เป็นที่อยู่ของมนุษย์ และนรก (bhur บูร์) เป็นที่อยู่ของปีศาจและวิญญาณของมนุษย์ประพฤติชั่วที่ถูกลงทัณฑ์ เปรียบได้ถึงร่างกายของมนุษย์สามส่วน คือ ศีรษะ ร่างกาย และเท้า และยังพบตามศาลพระภูมิต่าง ๆ นอกเรือนชานของชาวบาหลี
เทพเจ้า
ชาวฮินดูแบบบาหลีจะมีการนมัสการพระพรหม พระศิวะ และพระวิษณุตามคติดั้งเดิมของศาสนา แต่มีเอกลักษณ์พิเศษคือมีเทพพื้นเมืองเพิ่มเข้าไปด้วย หนึ่งในนั้นคือซังฮฺยังวีดี (Sang Hyang Widhi) หรือ อจินไตย (Acintya) เป็นหนึ่งในเทพเจ้าตามคติบาหลี และต่อมาได้นับถือเป็นเทพเจ้าสูงสุดเพียงพระองค์เดียวตามหลักปรัชญาปัญจศีลของประเทศอินโดนีเซีย โดยซังฮฺยังวีดีหรืออจินไตยจะมีที่ประทับเรียกว่า ปัทมาสน์ (padmasana ปัดมาซานา) ซึ่งมีลักษณะเป็นเก้าอี้ว่างเปล่า พบได้ทั่วไปตามบ้านเรือนและศาสนสถานต่าง ๆ
นอกจากอจินไตยแล้ว คติฮินดูแบบบาหลียังมีเทพเจ้าอีกจำนวนมากหาคณานับ อาทิ เทพเจ้าแห่งข้าวหรือเทวีศรี หรือแม้แต่เทพเจ้าแห่งขุนเขาหรือมหาสมุทรก็มี โดยชาวบาหลีเชื่อว่าเทพเจ้าจะสถิตอยู่ยอดเขาสูง พื้นดินคือที่อยู่ของมนุษย์ และมหาสมุทรคือที่สถิตของวิญญาณร้าย ด้วยเหตุนี้ชาวบาหลีจึงสร้างวัดบริเวณกึ่งกลางระหว่างภูเขาและทะเลเพื่อป้องกันภยันตรายต่าง ๆ
นักบวช
นักบวชของศาสนาฮินดูแบบบาหลี แบ่งออกเป็นสามระดับ ได้แก่
- เปอดันดา (pedanda) คือนักบวชชั้นสูง เป็นบุคคลวรรณะพราหมณ์ (ทวิชาติ)
- เปอมังกู (pemangku) คือนักบวชประจำศาสนสถาน เป็นบุคคลจากวรรณะกษัตริย์ แพศย์ และศูทร (เอกชาติ)
- บาเลียน (balian) คือผู้เป็นสื่อกลาง หรือ พ่อหมอสำหรับติดต่อกับเทพเจ้า
พิธีกรรม
ศาสนาฮินดูแบบบาหลีจะมีหน้าที่ที่เรียกว่า ปัญจยุธะ (panca yudha) หรือ 5 ประการ ที่ต่างออกไปจากปรกติ ได้แก่
- เทวยัชญะ (dewa yadnya เดวายัดญา) – บูชาเทพเจ้า
- ภูตยัชญะ (buta yadnya บูตายัดญา) – บูชาภูตผีปีศาจ
- ฤษียัชญะ (resi yadnya เรอซียัดญา) – การอุทิศถวายแก่นักบวช
- มนุษยยัชญะ (manusa yadnya มานูซายัดญา) – พิธีกรรมสำคัญต่าง ๆ ของมนุษย์ เช่น การเกิด การผ่านเข้าสู่ช่วงวัยใหม่ การสมรส
- ปิตฤยัชญะ (pitra yadnya ปิตรายัดญา) – สำหรับการตายและการเกิดใหม่
การเกิดและชีวิต
ชาวบาหลีมีพิธีกรรมทางศาสนากว่า 13 พิธี (ไม่รวมพิธีกรรมหลังการตาย) ประกอบไปด้วยสี่ประการคือ ขับไล่วิญญาณชั่วร้าย ทำให้บริสุทธิ์ด้วยน้ำศักดิ์สิทธิ์ การเผาเครื่องหอมให้กลิ่นโชยไปกับลม และการสวดภาวนา สิ่งเหล่านี้จะอยู่ในพิธีกรรมสำคัญต่าง ๆ ในช่วงชีวิตของมนุษย์ เช่น การเกิด การเข้าสู่วัยรุ่น การตะไบฟัน และการสมรส เมื่อมีการเกิด ในช่วง 42 แรกของชีวิตทารกจะถือว่าเป็นตัวแทนของผีบรรพชนและเทพเจ้าบนโลกมนุษย์ ส่วนมารดานั้นจะถือว่ามีมลทินไม่สามารถร่วมปฏิบัติศาสนกิจได้ในช่วงเวลาดังกล่าว ทารกจะไม่สามารถนำเท้าลงแตะพื้นได้จนกว่าจะอายุครบ 105 วัน เพราะถือว่าพื้นโลกมีราคี เมื่ออายุครบ 210 วันตามของบาหลี ก็จะมีการฉลองวันเกิดครั้งแรกแก่ทารก ครั้นเมื่ออายุย่างเข้าสู่วัยรุ่นก็จะมีพิธีหกซี่บนจนเสมอกัน ซึ่งถือว่าฟันหกซี่บนนั้นเสมือนความชั่วร้าย 6 ประการ อันได้แก่ ความขี้เกียจ ความเฉื่อยชา ความโลเล ความโลภ กิเลสตัณหา และโทสะ เมื่อตะไบฟันแล้ว จะถือว่าเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์
การสมรสถือเป็นเรื่องใหญ่สำหรับชาวบาหลีที่นับถือฮินดู ซึ่งสามีจำต้องเป็นทั้งหัวหน้าครอบครัวและการเป็นสมาชิกของหมู่บ้าน การให้กำเนิดบุตรถือเป็นสิ่งยืนยันว่ามีผู้สืบวงศ์ตระกูล และต้องบุตรคนใดคนหนึ่งมาประกอบพิธีกรรมทางศาสนาสำหรับการกลับชาติมาเกิดใหม่ อันเป็นเครื่องหมายของการเข้าสู่วัยรุ่น
การตายและการเกิดใหม่
เมื่อมีการเสียชีวิตก็จะมีพิธีกรรมทางศาสนา ชาวฮินดูเชื่อว่าเมื่อตายลงวิญญาณจะเป็นอิสระและจะกลับไปเกิดใหม่ หากจะเป็นอิสระได้ก็ต้องมีการฌาปนกิจศพให้เรียบร้อยเสียก่อนจึงจะถือว่าเสร็จสิ้นพิธีการ เพราะการฌาปนกิจไม่ใช่แค่การกำจัดศพ แต่เป็นการส่งดวงวิญญาณให้กลับไปสู่เทพเจ้าและเป็นผีบรรพบุรุษคอยบันดาลพูนสุขแก่ลูกหลานบนโลก กระนั้นการฌาปนกิจแบบบาหลีนั้นค่าใช้จ่ายสูงนักเนื่องจากมีพิธีกรรมค่อนข้างซับซ้อน หลายครอบครัวจึงต้องฝังศพไว้ก่อนจนกว่าจะมีเงินเพียงพอที่จะจ่ายค่างานศพ ทั้งนี้ศพของนักบวชและชนชั้นสูงจะถูกเก็บไว้เหนือผืนดินไม่ให้ฝังไว้ใต้ดิน
วรรณะ
ระบบวรรณะของบาหลีปรากฏอยู่ในเอกสารของชาวยุโรปช่วงศตวรรษที่ 20 แบ่งเป็นสามกลุ่มได้สามกลุ่ม คือ ตรีวังสา (เกิดสามครั้ง) ทวิชาติ (เกิดสองครั้ง) และเอกชาติ (เกิดครั้งเดียว) โดยจะสูงศักดิ์ลดหลั่นลงมาตามลำดับ ส่วนวรรณะทั้งสี่แบบอินเดียนั้นจะออกเสียงแตกต่างออกไป คือ
- วรรณะพราหมณ์ (Brahmana บราห์มานา) – นักบวช
- วรรณะกษัตริย์ (Satria ซาตรียา) – นักรบ
- วรรณะแพศย์หรือไวศยะ (Wesia เวซียา) – วานิช
- วรรณะศูทร (Sudra ซูดรา) – ทาส
นักมานุษยวิทยาชาวดัตช์ได้แบ่งกลุ่มวรรณะพราหมณ์ของบาหลีออกเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ ซีวา (Siwa) และบูดา (Buda) ซึ่งกลุ่มซีวาสามารถแบ่งย่อยได้อีก 5 กลุ่มย่อย ได้แก่ เกอเมอนุฮ์ (Kemenuh) เกอนีเติน (Keniten) มัซ (Mas) มานูบา (Manuba) และเปอตาปัน (Petapan) คือกลุ่มย่อยที่รองรับการสมรสระหว่างชายวรรณะสูงกับหญิงวรรณะต่ำ และนักมานุษยวิทยายังยังแบ่งวรรณะกลุ่มย่อย ๆ อีกตามเกณฑ์ลักษณะนี้ในศตวรรษที่ 19 ถึง 20 ตามการแต่งงานในกลุ่มวรรณะเดียวกัน ต่างวรรณะ หรืออาจมีปัจจัยอื่น ๆ ซึ่งคล้ายคลึงกับระบบชนชั้นในของสเปน และการศึกษาระบบวรรณะในอาณานิคมอินเดียของอังกฤษ
ศาสนสถาน
เทศกาล
กาลุงงันและกูนิงงัน
เป็นเทศกาลเฉลิมฉลองชัยชนะของธรรมะเหนืออธรรม จะมีการคำนวณ 210 วันตามปฏิทินปาวูกน (pawukon calendar) จะจัดขึ้นในวันพุธ (buda) สัปดาห์ที่ 11 (dunggulan) เชื่อว่าวิญญาณผีบรรพชนจะลงมาจากสวรรค์กลับมาหาลูกหลาน 10 วันก่อนกลับสวรรค์ในวันกูนิงงัน
เญปี
ช่อของเทศกาลแปลว่า "วันแห่งความเงียบ" เป็นวันปีใหม่ของการนับศักราชแบบบาหลี มักอยู่ช่วงเดือนสิบเอ็ดหรือเกอดาซา (kedasa) ซึ่งตรงกับช่วงมีนาคมตามปฏิทินสากล จะมีการเดินขบวนในพิธีกรรมทางศาสนา โดยมีเยาวชนถือคบเพลิงเป็นสัญลักษณ์ในการเผาทำลายปีศาจ ที่ถือว่าเป็นวิญญาณชั่วร้าย
เทศกาลอื่น ๆ
วันวาตูกูนุง (Watugunung) เป็นวันสุดท้ายของปฏิทินปาวูกนที่ต้องบำเพ็ญเพียรอุทิศแด่เทพีสุรัสวดี เทพแห่งการเรียนรู้ด้วยการอ่านหนังสือ แม้ว่าหนังสือเล่มนั้นจะไม่ได้รับการอนุญาตให้อ่านก็ตาม ส่วนวันที่สี่ของปีจะเรียกว่าวันปาเกอร์เวซี (Pagerwesi) แปลว่า "รั้วเหล็ก" เป็นวันรำลึกถึงการต่อสู้กันระหว่างความดีกับความชั่ว
อ้างอิง
- เชิงอรรถ
- Jones (1971) p11
- Ricklefs (1989) p13
- Eiseman (1989) pp 11–12
- Davison & Granquist (1999) pp 4–5
- Davison & Granquist (1999) pp 5, 8
- Haer et al (2000) p 46
- Eiseman (1989) pp 44–45
- Eiseman (1989) p 274
- "ชาวบาหลีกับภูเขาไฟ". ศูนย์ข่าวสารอาเซียน กรมประชาสัมพันธ์. 27 ตุลาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - Haer et al (2000) p 48
- Eiseman (1989) pp 362 & 363
- ตามปรกติยัชญะได้แก่ อ้างจาก: . วิทยาลัยศาสนวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-22. สืบค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2560.
- พรหมยัชญะ – คือบูชาพรหมและสอนพระเวทแก่อนุชน
- เทวยัชญะ – คือบูชาเทพเจ้าด้วยการใส่เครื่องสังเวยในกองเพลิง
- ปิตฤยัชญะ – บูชาบรรพบุรุษที่ล่วงลับในพิธีศารท
- ภูตยัชญะ – ให้ทานคนป่วย คนขัดสน และสัตว์
- มนุษยยัชญะ – ทำหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อมนุษย์ด้วยกัน เช่นการต้อนรับแขกที่มาบ้านอย่างจริงใจ การสร้างที่พักแก่คนยาก
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - Hobart et al (1996) p 102
- Haer et al (2000) p 52
- Eiseman (1989) pp 91
- เผ่าทอง ทองเจือ (26 กันยายน 2556). "กุมารวิถี...บาหลีนิยม (ตอนจบ)". ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - Hobart et al (1996) p 105
- Haer et al (2000) p 53
- Eiseman (1989) pp 116–117
- James Boon (1977). The Anthropological Romance of Bali 1597-1972: Dynamic Perspectives in Marriage and Caste, Politics and Religion. ISBN .
- Eiseman (1989) pp 186–187
- Nyepi Bali, Indonesia (February 2013)
- Nyepi: Bali's day of Silence Culture, Bali & Indonesia (2009)
- Eiseman (1989) pp 184–185
- บรรณานุกรม
- Davison, Julian; Granquist, Bruce (1999). Balinese Temples. Periplus Editions. ISBN .
- Eiseman, Fred B. (1989). Bali: Sekala & Niskala Volume I: Essays on Religion, Ritual, and Art. Singapore: Periplus Editions. ISBN .
- Haer, Debbie Guthrie; Morillot, Juliette; Toh, Irene (2000). Bali: A Traveller's Companion. Editions Didier Millet Pte Ltd. Publishers Ltd. ISBN .
- Hobart, Angela; Ramseyer, Urs; Leeman, Albert (1996). The Peoples of Bali. Blackwell Publishers Ltd. ISBN .
- Jones, Howard Palfrey (1971). Indonesia: The Possible Dream. Hoover Institution Publications. ISBN .
- Vickers, Adrian (1989). Bali: A Paradise Created. Periplus. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sasnahinduaebbbahli xinodniesiy Agama Hindu Dharma hrux lththiwariskdisiththi xinodniesiy Agama Tirtha epnsasnahindurupaebbhnungthiptibtiinklumchawbahlibnekaabahliinpraethsxinodniesiy xnmikhwamaetktangcaksasnahindusayhlkkhuxmikarskkaraphiphunemuxng buchaphibrrphburus aelaekharphphraophthistwsungepnkhxngkhtithangsasnaphuththdwy aemwaprachakrswnihykhxngpraethsxinodniesiycanbthuxsasnaxislamaelakhrist aetchawbahliyukhpccubnyngkhngyudmninhlkthrrmkhxngtnaelayngprakxbphithikrrmthangsasnaxyanghinduxyustribahlikhnaprakxbphithikrrmthangsasnathixubudkxnthwaykhxngbuchaaedethphecapthmasnthiprathbkhxngxcinity ethphhindu prawtisasnahinduekhasuxinodniesiytngaetstwrrsaerkodychawxinediythiekhamakhakhay kxnthukaethnthiodysasnaphuthththiklayepnsasnahlkkhxngekaasumatraaelachwa aetphayhlngkarekhamakhxngsasnaxislamchwngstwrrsthi 14 aeladwyxupsrrkhthangwthnthrrmbangprakar cungthaihbahliepnaehlngphkphingsudthaykhxngchawhinduyukhkxnaelaprachakrswnihykhxngbahliyngkhngepnhindumacnthungpccubn nxkcakniyngmichumchnchawhinducanwnmakxasyxyubriewnhmuekaakhnadnxythangtawnxxkkhxngekaachwa swnbriewnekaachwathangfngtawnxxksudkhxngekaakyngmihmubanhindukracdkracayxyuthwiphlkthrrmhlkthrrmthangsasnakhnphunthan hakpraphvtidiptibtichxbcaeriykwa thrrma hakpraphvtichwcaeriykwa chawhinducungtxngmungaeswnghakhwamsmdulknrahwangthrrmaaelaxthrrmdngklawcungcahludphncakkarewiynwaytayekid aelabrrlusingthisungsudkhux omksa sasnahinduaebbbahliaebngckrwalwithyaxxkepnsamphphkhux swrrkh suarga suwarka xnepnthiphankkhxngthwyethph olk buwah buwah epnthixyukhxngmnusy aelanrk bhur bur epnthixyukhxngpisacaelawiyyankhxngmnusypraphvtichwthithuklngthnth epriybidthungrangkaykhxngmnusysamswn khux sirsa rangkay aelaetha aelayngphbtamsalphraphumitang nxkeruxnchankhxngchawbahliethphecachawhinduaebbbahlicamikarnmskarphraphrhm phrasiwa aelaphrawisnutamkhtidngedimkhxngsasna aetmiexklksnphiesskhuxmiethphphunemuxngephimekhaipdwy hnunginnnkhuxsngh yngwidi Sang Hyang Widhi hrux xcinity Acintya epnhnunginethphecatamkhtibahli aelatxmaidnbthuxepnethphecasungsudephiyngphraxngkhediywtamhlkprchyapycsilkhxngpraethsxinodniesiy odysngh yngwidihruxxcinitycamithiprathberiykwa pthmasn padmasana pdmasana sungmilksnaepnekaxiwangepla phbidthwiptambaneruxnaelasasnsthantang nxkcakxcinityaelw khtihinduaebbbahliyngmiethphecaxikcanwnmakhakhnanb xathi ethphecaaehngkhawhruxethwisri hruxaemaetethphecaaehngkhunekhahruxmhasmuthrkmi odychawbahliechuxwaethphecacasthitxyuyxdekhasung phundinkhuxthixyukhxngmnusy aelamhasmuthrkhuxthisthitkhxngwiyyanray dwyehtunichawbahlicungsrangwdbriewnkungklangrahwangphuekhaaelathaelephuxpxngknphyntraytang nkbwchnkbwchkhxngsasnahinduaebbbahli aebngxxkepnsamradb idaek epxdnda pedanda khuxnkbwchchnsung epnbukhkhlwrrnaphrahmn thwichati epxmngku pemangku khuxnkbwchpracasasnsthan epnbukhkhlcakwrrnakstriy aephsy aelasuthr exkchati baeliyn balian khuxphuepnsuxklang hrux phxhmxsahrbtidtxkbethphecaphithikrrmcanngsarithichawbahlithinbthuxsasnahinduthwayaedethphecaaelaphibrrphchn sasnahinduaebbbahlicamihnathithieriykwa pycyutha panca yudha hrux 5 prakar thitangxxkipcakprkti idaek ethwychya dewa yadnya edwaydya buchaethpheca phutychya buta yadnya butaydya buchaphutphipisac vsiychya resi yadnya erxsiydya karxuthisthwayaeknkbwch mnusyychya manusa yadnya manusaydya phithikrrmsakhytang khxngmnusy echn karekid karphanekhasuchwngwyihm karsmrs pitvychya pitra yadnya pitraydya sahrbkartayaelakarekidihmkarekidaelachiwit phithichapnkicaebbbahlithixubud chawbahlimiphithikrrmthangsasnakwa 13 phithi imrwmphithikrrmhlngkartay prakxbipdwysiprakarkhux khbilwiyyanchwray thaihbrisuththidwynaskdisiththi karephaekhruxnghxmihklinochyipkblm aelakarswdphawna singehlanicaxyuinphithikrrmsakhytang inchwngchiwitkhxngmnusy echn karekid karekhasuwyrun kartaibfn aelakarsmrs emuxmikarekid inchwng 42 aerkkhxngchiwittharkcathuxwaepntwaethnkhxngphibrrphchnaelaethphecabnolkmnusy swnmardanncathuxwamimlthinimsamarthrwmptibtisasnkicidinchwngewladngklaw tharkcaimsamarthnaethalngaetaphunidcnkwacaxayukhrb 105 wn ephraathuxwaphunolkmirakhi emuxxayukhrb 210 wntamkhxngbahli kcamikarchlxngwnekidkhrngaerkaekthark khrnemuxxayuyangekhasuwyrunkcamiphithihksibncnesmxkn sungthuxwafnhksibnnnesmuxnkhwamchwray 6 prakar xnidaek khwamkhiekiyc khwamechuxycha khwamolel khwamolph kielstnha aelaothsa emuxtaibfnaelw cathuxwaepnmnusyodysmburn karsmrsthuxepneruxngihysahrbchawbahlithinbthuxhindu sungsamicatxngepnthnghwhnakhrxbkhrwaelakarepnsmachikkhxnghmuban karihkaenidbutrthuxepnsingyunynwamiphusubwngstrakul aelatxngbutrkhnidkhnhnungmaprakxbphithikrrmthangsasnasahrbkarklbchatimaekidihm xnepnekhruxnghmaykhxngkarekhasuwyrun kartayaelakarekidihm emuxmikaresiychiwitkcamiphithikrrmthangsasna chawhinduechuxwaemuxtaylngwiyyancaepnxisraaelacaklbipekidihm hakcaepnxisraidktxngmikarchapnkicsphiheriybrxyesiykxncungcathuxwaesrcsinphithikar ephraakarchapnkicimichaekhkarkacdsph aetepnkarsngdwngwiyyanihklbipsuethphecaaelaepnphibrrphburuskhxybndalphunsukhaeklukhlanbnolk krannkarchapnkicaebbbahlinnkhaichcaysungnkenuxngcakmiphithikrrmkhxnkhangsbsxn hlaykhrxbkhrwcungtxngfngsphiwkxncnkwacamienginephiyngphxthicacaykhangansph thngnisphkhxngnkbwchaelachnchnsungcathukekbiwehnuxphundinimihfngiwitdinwrrnarabbwrrnakhxngbahlipraktxyuinexksarkhxngchawyuorpchwngstwrrsthi 20 aebngepnsamklumidsamklum khux triwngsa ekidsamkhrng thwichati ekidsxngkhrng aelaexkchati ekidkhrngediyw odycasungskdildhlnlngmatamladb swnwrrnathngsiaebbxinediynncaxxkesiyngaetktangxxkip khux wrrnaphrahmn Brahmana brahmana nkbwch wrrnakstriy Satria satriya nkrb wrrnaaephsyhruxiwsya Wesia ewsiya wanich wrrnasuthr Sudra sudra thas nkmanusywithyachawdtchidaebngklumwrrnaphrahmnkhxngbahlixxkepnsxngklumihykhux siwa Siwa aelabuda Buda sungklumsiwasamarthaebngyxyidxik 5 klumyxy idaek ekxemxnuh Kemenuh ekxnietin Keniten ms Mas manuba Manuba aelaepxtapn Petapan khuxklumyxythirxngrbkarsmrsrahwangchaywrrnasungkbhyingwrrnata aelankmanusywithyayngyngaebngwrrnaklumyxy xiktameknthlksnaniinstwrrsthi 19 thung 20 tamkaraetngnganinklumwrrnaediywkn tangwrrna hruxxacmipccyxun sungkhlaykhlungkbrabbchnchninkhxngsepn aelakarsuksarabbwrrnainxananikhmxinediykhxngxngkvssasnsthanethskalphukhnkhnanasingkhxngipbtrphliaekphibrrphburusinwnkuningngnkalungngnaelakuningngn epnethskalechlimchlxngchychnakhxngthrrmaehnuxxthrrm camikarkhanwn 210 wntamptithinpawukn pawukon calendar cacdkhuninwnphuth buda spdahthi 11 dunggulan echuxwawiyyanphibrrphchncalngmacakswrrkhklbmahalukhlan 10 wnkxnklbswrrkhinwnkuningngn eypi chxkhxngethskalaeplwa wnaehngkhwamengiyb epnwnpiihmkhxngkarnbskrachaebbbahli mkxyuchwngeduxnsibexdhruxekxdasa kedasa sungtrngkbchwngminakhmtamptithinsakl camikaredinkhbwninphithikrrmthangsasna odymieyawchnthuxkhbephlingepnsylksninkarephathalaypisac thithuxwaepnwiyyanchwray ethskalxun wnwatukunung Watugunung epnwnsudthaykhxngptithinpawuknthitxngbaephyephiyrxuthisaedethphisurswdi ethphaehngkareriynrudwykarxanhnngsux aemwahnngsuxelmnncaimidrbkarxnuyatihxanktam swnwnthisikhxngpicaeriykwawnpaekxrewsi Pagerwesi aeplwa rwehlk epnwnralukthungkartxsuknrahwangkhwamdikbkhwamchwxangxingechingxrrthJones 1971 p11 Ricklefs 1989 p13 Eiseman 1989 pp 11 12 Davison amp Granquist 1999 pp 4 5 Davison amp Granquist 1999 pp 5 8 Haer et al 2000 p 46 Eiseman 1989 pp 44 45 Eiseman 1989 p 274 chawbahlikbphuekhaif sunykhawsarxaesiyn krmprachasmphnth 27 tulakhm 2557 subkhnemux 12 kumphaphnth 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy Haer et al 2000 p 48 Eiseman 1989 pp 362 amp 363 tamprktiychyaidaek phrhmychya khuxbuchaphrhmaelasxnphraewthaekxnuchnethwychya khuxbuchaethphecadwykarisekhruxngsngewyinkxngephlingpitvychya buchabrrphburusthilwnglbinphithisarthphutychya ihthankhnpwy khnkhdsn aelastwmnusyychya thahnathithiphungptibtitxmnusydwykn echnkartxnrbaekhkthimabanxyangcringic karsrangthiphkaekkhnyak xangcak withyalysasnwithya mhawithyalymhidl khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 06 22 subkhnemux 11 kumphaphnth 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help Hobart et al 1996 p 102 Haer et al 2000 p 52 Eiseman 1989 pp 91 ephathxng thxngecux 26 knyayn 2556 kumarwithi bahliniym txncb ithyrthxxniln subkhnemux 12 kumphaphnth 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help Hobart et al 1996 p 105 Haer et al 2000 p 53 Eiseman 1989 pp 116 117 James Boon 1977 The Anthropological Romance of Bali 1597 1972 Dynamic Perspectives in Marriage and Caste Politics and Religion ISBN 0 521 21398 3 Eiseman 1989 pp 186 187 Nyepi Bali Indonesia February 2013 Nyepi Bali s day of Silence Culture Bali amp Indonesia 2009 Eiseman 1989 pp 184 185 brrnanukrmDavison Julian Granquist Bruce 1999 Balinese Temples Periplus Editions ISBN 962 593 196 1 Eiseman Fred B 1989 Bali Sekala amp Niskala Volume I Essays on Religion Ritual and Art Singapore Periplus Editions ISBN 0 945971 03 6 Haer Debbie Guthrie Morillot Juliette Toh Irene 2000 Bali A Traveller s Companion Editions Didier Millet Pte Ltd Publishers Ltd ISBN 981 3018496 Hobart Angela Ramseyer Urs Leeman Albert 1996 The Peoples of Bali Blackwell Publishers Ltd ISBN 0 631 17687 X Jones Howard Palfrey 1971 Indonesia The Possible Dream Hoover Institution Publications ISBN 0 15 144371 8 Vickers Adrian 1989 Bali A Paradise Created Periplus ISBN 978 0 945971 28 3 bthkhwamsasnaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk