ศาลพระกาฬ เป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนถูกดัดแปลงเป็นพุทธสถานในยุคต่อมา ตั้งอยู่บริเวณสี่แยกตะแลงแกงบน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่บริเวณเกือบกึ่งกลางเกาะเมืองและเป็นย่านตลาดที่มีผู้คนพลุกพล่านมาก และหากมีการประหารนักโทษก็จะมีการเสียบหัวประจานให้ประชาชีเห็นจะได้เกรงกลัวมิเอาเยี่ยงอย่าง ปัจจุบันศาลพระกาฬหลงเหลือเพียงรากฐานของอิฐเท่านั้น
สุจิตต์ วงษ์เทศให้คำอธิบายว่าศาลพระกาฬในจังหวัดพระนครศรีอยุธยานี้เป็นแบบอย่างในการสร้างเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารในกรุงเทพมหานครด้วย
ประวัติ
จากการขุดค้นของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อปี พ.ศ. 2512 พบว่าศาลพระกาฬนี้เป็นเทวาลัยของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมาแต่ดั้งเดิม คาดว่าถูกสร้างขึ้นในช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนต้นหรือราวพุทธศตวรรษที่ 20 ลักษณะเป็นปรางค์ซุ้มสี่ทิศ ยุคแรกนั้นเป็นเทวสถานใน และนิกายไวษณพ มีการขุดค้นพบเทวรูปสำริด เช่น พระอิศวร พระนารายณ์ และพระคเณศ ทรงเครื่องและศิราภรณ์อย่างขอมสมัยนครวัด ทั้งนี้หากพิจารณาจากภูมิสถานของศาลพระกาฬก็จะพบว่าอยู่ในกลางพระนคร บริเวณจุดตัดของถนนป่าโทนกับเป็นสี่แยกเรียกว่าตะแลงแกง ในหนังสือ ตำนานกรุงเก่า ของพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) ได้เขียนบรรยายเอาไว้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450 ความว่า
"...ข้างฟากถนนตะแลงแกงทางใต้ด้านตะวันตก มีศาลพระกาฬหลังคาเป็นซุ้มปรางค์ และมีศาลอยู่ต่อกันไปเข้าใจว่าจะเป็นศาลพระเสื้อเมือง พระทรงเมือง ที่ตรงตะแลงแกงเห็นจะถือกันว่าเป็นกลางพระนคร..."
ย่านตะแลงแกงนี้มีประชากรอยู่อย่างหนาแน่นด้วยเป็นที่ตั้งของตลาดสดที่ขายของแต่เช้าจรดเย็นและตลาดค้าของชำขนาดใหญ่สองแห่งคือตลาดหน้าคุกและตลาดหน้าศาลพระกาฬ ทั้งนี้หากมีการประหารนักโทษก็จะทำการประหารที่ตะแลงแกง แล้วเสียบศีรษะศพประจานให้เพื่อให้ประชาชนเกรงกลัวมิกล้าเอาเยี่ยงอย่าง
ต่อมายุคหลังมีการดัดแปลงศาลพระกาฬเป็นพุทธสถาน สันนิษฐานว่าน่าจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2179 พระราชพงศาวดารระบุว่าในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองโปรดเกล้าให้รื้อเทวสถานเดิมไปสร้างใหม่ ณ ย่านชีกุน จากการขุดค้นทางโบราณคดีจึงพบว่ามีพระพุทธรูป และพบว่าด้านหน้ามีการสร้างวิหารขนาดใหญ่ในยุคหลัง แต่หลังการดัดแปลงเป็นพุทธสถานนี้ก็พบว่าศาลพระกาฬก็เริ่มโรยรา และถูกทิ้งร้างขาดการดูแลมานาน สันนิษฐานว่าจะเกิดขึ้นช่วงก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองไปจนถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น
อ้างอิง
- ปวัตร์ นวะมะรัตน (26 มกราคม 2560). "ตะแลงแกง". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "ศาลพระกาฬ พระนครศรีอยุธยา". TAT Edutour. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))[] - สุจิตต์ วงษ์เทศ (8 เมษายน 2560). "ศาลพระกาฬ ยุคอยุธยา อยู่สี่แยกตะแลงแกง ย่านกลางเมือง". มติชนออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2560.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
salphrakal epnethwsthaninsasnaphrahmn hindu kxnthukddaeplngepnphuththsthaninyukhtxma tngxyubriewnsiaeyktaaelngaekngbn xaephxphrankhrsrixyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthya tngxyubriewnekuxbkungklangekaaemuxngaelaepnyantladthimiphukhnphlukphlanmak aelahakmikarpraharnkothskcamikaresiybhwpracanihprachachiehncaidekrngklwmiexaeyiyngxyang pccubnsalphrakalhlngehluxephiyngrakthankhxngxithethann sucitt wngsethsihkhaxthibaywasalphrakalincnghwdphrankhrsrixyuthyaniepnaebbxyanginkarsrangethwsthanobsthphrahmnaelaesachingchahnawdsuthsnethphwraramrachwrmhawiharinkrungethphmhankhrdwyprawticakkarkhudkhnkhxngkhnaobrankhdi mhawithyalysilpakremuxpi ph s 2512 phbwasalphrakalniepnethwalykhxngsasnaphrahmn hindumaaetdngedim khadwathuksrangkhuninchwngkrungsrixyuthyatxntnhruxrawphuththstwrrsthi 20 lksnaepnprangkhsumsithis yukhaerknnepnethwsthanin aelanikayiwsnph mikarkhudkhnphbethwrupsarid echn phraxiswr phranarayn aelaphrakhens thrngekhruxngaelasiraphrnxyangkhxmsmynkhrwd thngnihakphicarnacakphumisthankhxngsalphrakalkcaphbwaxyuinklangphrankhr briewncudtdkhxngthnnpaothnkbepnsiaeykeriykwataaelngaekng inhnngsux tanankrungeka khxngphrayaobranrachthaninthr phr edchakhupt idekhiynbrryayexaiwtngaetpi ph s 2450 khwamwa khangfakthnntaaelngaekngthangitdantawntk misalphrakalhlngkhaepnsumprangkh aelamisalxyutxknipekhaicwacaepnsalphraesuxemuxng phrathrngemuxng thitrngtaaelngaekngehncathuxknwaepnklangphrankhr yantaaelngaekngnimiprachakrxyuxyanghnaaenndwyepnthitngkhxngtladsdthikhaykhxngaetechacrdeynaelatladkhakhxngchakhnadihysxngaehngkhuxtladhnakhukaelatladhnasalphrakal thngnihakmikarpraharnkothskcathakarpraharthitaaelngaekng aelwesiybsirsasphpracanihephuxihprachachnekrngklwmiklaexaeyiyngxyang txmayukhhlngmikarddaeplngsalphrakalepnphuththsthan snnisthanwanacaekidkhuninpi ph s 2179 phrarachphngsawdarrabuwainrchsmysmedcphraecaprasaththxngoprdeklaihruxethwsthanedimipsrangihm n yanchikun cakkarkhudkhnthangobrankhdicungphbwamiphraphuththrup aelaphbwadanhnamikarsrangwiharkhnadihyinyukhhlng aethlngkarddaeplngepnphuththsthannikphbwasalphrakalkerimoryra aelathukthingrangkhadkarduaelmanan snnisthanwacaekidkhunchwngkxnesiykrungsrixyuthyakhrngthisxngipcnthungyukhrtnoksinthrtxntnxangxingpwtr nwamartn 26 mkrakhm 2560 taaelngaekng silpwthnthrrm subkhnemux 26 emsayn 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help salphrakal phrankhrsrixyuthya TAT Edutour subkhnemux 26 emsayn 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help lingkesiy sucitt wngseths 8 emsayn 2560 salphrakal yukhxyuthya xyusiaeyktaaelngaekng yanklangemuxng mtichnxxniln subkhnemux 26 emsayn 2560 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help