วิศวกรรมเหมืองแร่ (อังกฤษ: Mining Engineering) สาขาวิศวกรรมที่เก่าแก่เป็นประยุกต์ความรู้ทางวิศวกรรมหลาย ๆ ด้านเพื่อค้นหา ขุดแยก และจัดการกับแร่ธาตุจากแหล่งธรรมชาติ โดยมีสาขาย่อย คือ
- (Mineral Processing)
- (Surface Mining)
- (Underground Mining)
- (Environmental Management in Mining)
- วิศวกรรมธรณี (Geological engineering) : ศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติทางด้านฟิสิกส์ วิศวกรรมของหิน และธรณีวิทยาประยุกต์ เพื่อการวิเคราะห์ ออกแบบ และแก้ปัญหาด้านวิศวกรรมเหมืองแร่และโยธา
ในประเทศที่พัฒนาด้านอุตสาหกรรมหนักอย่างรวดเร็ว จะให้ความสำคัญแก่สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่มาก เพราะเป็นสาขาที่เกี่ยวกับการนำสินแร่และโลหะ ซึ่งเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมพื้นฐานที่จำเป็นมาใช้งาน
ลักษณะการวางแผนออกแบบ และควบคุมการทำเหมืองแร่ กระบวนการผลิตสินแร่ และกระบวนการแยกแร่ รวมไปถึงงานโลหกรรม และวัสดุศาสตร์ นอกจากนี้วิศวกรเหมืองแร่ต้องมีความรู้ทางด้านธรณีวิทยา โลหะวิทยา เทคโนโลยีปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ อีกทั้งเกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากอุตสาหกรรมแร่ทั้งในด้านการจัดการและเทคโนโลยีที่ใช้ในการแก้ไข
มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรด้านวิศวกรรมเหมืองแร่ในประเทศไทย
มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงของเรื่อง |
หลักสูตรวิศวกรรมเหมืองแร่ในประเทศไทยมีเปิดสอนอยู่ 4 แห่งที่สภาวิศวกรรับรองวุฒิ คือ
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wiswkrrmehmuxngaer xngkvs Mining Engineering sakhawiswkrrmthiekaaekepnprayuktkhwamruthangwiswkrrmhlay danephuxkhnha khudaeyk aelacdkarkbaerthatucakaehlngthrrmchati odymisakhayxy khux Mineral Processing Surface Mining Underground Mining Environmental Management in Mining wiswkrrmthrni Geological engineering suksaekiywkbkhunsmbtithangdanfisiks wiswkrrmkhxnghin aelathrniwithyaprayukt ephuxkarwiekhraah xxkaebb aelaaekpyhadanwiswkrrmehmuxngaeraelaoythaehmuxngthanhinaebbepidthicdkaraebbwiswkrrmehmuxngaer inpraethsthiphthnadanxutsahkrrmhnkxyangrwderw caihkhwamsakhyaeksakhawiswkrrmehmuxngaermak ephraaepnsakhathiekiywkbkarnasinaeraelaolha sungepnwtthudibinxutsahkrrmphunthanthicaepnmaichngan lksnakarwangaephnxxkaebb aelakhwbkhumkarthaehmuxngaer krabwnkarphlitsinaer aelakrabwnkaraeykaer rwmipthungnganolhkrrm aelawsdusastr nxkcakniwiswkrehmuxngaertxngmikhwamruthangdanthrniwithya olhawithya ethkhonolyipiotreliymaelakasthrrmchati xikthngekiywkhxngkbkaraekpyhasingaewdlxmthiekidcakxutsahkrrmaerthngindankarcdkaraelaethkhonolyithiichinkaraekikhmhawithyalythiepidsxnhlksutrdanwiswkrrmehmuxngaerinpraethsithymummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir hlksutrwiswkrrmehmuxngaerinpraethsithymiepidsxnxyu 4 aehngthisphawiswkrrbrxngwuthi khux culalngkrnmhawithyaly mhawithyalysngkhlankhrinthr mhawithyalyechiyngihm mhawithyalyethkhonolyirachmngkhllanna mhawithyalyekstrsastr bthkhwamwiswkrrmsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk