วิดกึน อับราฮัม เลาริตซ์ ยุนเซิน ควิสลิง (นอร์เวย์: Vidkun Abraham Lauritz Jonssøn Quisling; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 – 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945) เป็นเจ้าหน้าที่ทหารของนอร์เวย์และเป็นนักการเมืองในนามของผู้นำรัฐบาลนอร์เวย์ในช่วงการยึดครองโดยนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
วิดกึน ควิสลิง | |
---|---|
ควิสลิงใน ค.ศ. 1919 | |
ดำรงตำแหน่ง 1 กุมภาพันธ์ 1942 – 9 พฤษภาคม 1945 ดำรงตำแหน่งร่วมกับ โยเซฟ แทร์โบเฟิน | |
ก่อนหน้า | (ในฐานะนายกรัฐมนตรี) |
ถัดไป | (ในฐานะนายกรัฐมนตรี) |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมนอร์เวย์ | |
ดำรงตำแหน่ง 1931–1933 | |
นายกรัฐมนตรี | |
ก่อนหน้า | |
ถัดไป | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | วิดกึน อับราฮัม เลาริตซ์ ยุนเซิน ควิสลิง 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 นอร์เวย์ |
เสียชีวิต | 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 ออสโล นอร์เวย์ | (58 ปี)
ศาสนา | Universism |
พรรคการเมือง |
|
การเข้าร่วม พรรคการเมืองอื่น |
|
คู่สมรส |
|
ลายมือชื่อ | |
ควิสลิงได้เข้าสู่วงการการเมืองเป็นครั้งแรกโดยเป็นผู้ประสานงานที่ใกล้ชิดกับฟริตจ็อฟ นันเซิน ผู้จัดการบรรเทามนุษยธรรมในช่วงความอดอยากในรัสเซีย ค.ศ. 1921 ใน Povolzhye เขาได้ติดประกาศในฐานะเอกราชทูตนอร์เวย์ไปยังสหภาพโซเวียต และสำหรับบางครั้งก็ดำเนินการกรณีในการทูตต่ออังกฤษ เขาได้กลับมายังนอร์เวย์ในปี ค.ศ. 1929 และดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลของ Peder Kolstad (ค.ศ. 1931–32) และ Jens Hundseid (ค.ศ. 1932–33) โดยที่เขาอยู่สังกัดพรรคชาวนา
ในปี ค.ศ. 1933 ควิสลิงได้ลาออกจากพรรคชาวนาและก่อตั้งพรรคนิยมฟาสซิสต์ที่ชื่อ Nasjonal Samling แม้ว่าเขาจะได้รับความนิยมภายหลังจากการที่เขาได้โจมตีนักการเมืองนิยมฝ่ายซ้าย แต่พรรคของเขาไม่สามารถเอาชนะคว้าที่นั่งในรัฐสภา Storting ได้ และในวันที่ 9 เมษายน ค.ศ. 1940 กองทัพเยอรมันได้ยาตราเข้ายึดครองนอร์เวย์ในขณะที่ได้ใกล้คืบคลานเข้ามา เขาได้พยายามจะยึดอำนาจในการก่อรัฐประหารครั้งแรก โดยการป่าวประกาศทางวิทยุออกอากาศไปทั่วโลก แต่เขากลับล้มเหลวภายหลังจากที่รัฐบาลเยอรมันได้ปฏิเสธที่จะสนับสนุนรัฐบาลของเขา
ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1942 ถึง ค.ศ. 1945 เขาได้ทำหน้าที่เป็นนายกรัฐมนตรีนอร์เวย์ ผู้นำบริหารรัฐนอร์เวย์ร่วมกับผู้บริหารพลเรือนเยอรมัน โยเซฟ เทอร์โบเวน รัฐบาลหุ่นเชิดนิยมนาซีของเขา ได้เป็นที่รู้จักกันในฐานะ"ระบอบควิสลิง" ที่ถูกครอบงำโดยคณะรัฐมนตรีจากพรรค Nasjonal Samling รัฐบาลของควิสลิงได้มีส่วนร่วมกับมาตราการสุดท้ายในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ของเยอรมนี ควิสลิงได้ถูกจับกุมตัวและถูกไต่สวนในระหว่างการกวาดล้างฝ่ายนิยมฟาสซิสต์ในนอร์เวย์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง เขาถูกตัดสินว่ามีความผิดในข้อหาหลายข้อกล่าวหา รวมทั้งการฉ้อฉล, การฆาตกรรม และเป็นผู้ทรยศอย่างใหญ่หลวงต่อรัฐนอร์เวย์และถูกตัดสินลงโทษด้วยการประหารชีวิต เขาได้ถูกประหารชีวิตด้วย (firing squad) ที่ ในกรุงออสโล เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1945 ด้วยคำว่า ควิสลิง ต่อมาได้กลายเป็นภาษิตสำหรับ "ผู้สมรู้ร่วมคิด" หรือ "คนทรยศ" ในหลายภาษา ซึ่งได้สะท้อนแสดงให้เห็นถึงความน่าสังเวชในการกระทำของควิสลิง ทั้งในช่วงเวลาที่ยังมีชีวืตและจนกระทั่งที่เขาได้เสียชีวิตลง
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
widkun xbrahm elarits yunesin khwisling nxrewy Vidkun Abraham Lauritz Jonsson Quisling 18 krkdakhm kh s 1887 24 tulakhm kh s 1945 epnecahnathithharkhxngnxrewyaelaepnnkkaremuxnginnamkhxngphunarthbalnxrewyinchwngkaryudkhrxngodynasieyxrmniinchwngsngkhramolkkhrngthisxngwidkun khwislingkhwislingin kh s 1919darngtaaehnng 1 kumphaphnth 1942 9 phvsphakhm 1945darngtaaehnngrwmkb oyesf aethrobefinkxnhna inthananaykrthmntri thdip inthananaykrthmntri rthmntriwakarkrathrwngklaohmnxrewydarngtaaehnng 1931 1933naykrthmntrikxnhnathdipkhxmulswnbukhkhlekidwidkun xbrahm elarits yunesin khwisling 18 krkdakhm kh s 1887 1887 07 18 nxrewyesiychiwit24 tulakhm kh s 1945 1945 10 24 58 pi xxsol nxrewysasnaUniversismphrrkhkaremuxng 1933 45 karekharwm phrrkhkaremuxngxun 1930 31 Nordisk folkereisning i Norge 1930 31 1931 33 khusmrs disputed laymuxchux khwislingidekhasuwngkarkaremuxngepnkhrngaerkodyepnphuprasannganthiiklchidkbfritcxf nnesin phucdkarbrrethamnusythrrminchwngkhwamxdxyakinrsesiy kh s 1921 in Povolzhye ekhaidtidprakasinthanaexkrachthutnxrewyipyngshphaphosewiyt aelasahrbbangkhrngkdaeninkarkrniinkarthuttxxngkvs ekhaidklbmayngnxrewyinpi kh s 1929 aeladarngtaaehnngepnrthmntriwakarkrathrwngklaohminrthbalkhxng Peder Kolstad kh s 1931 32 aela Jens Hundseid kh s 1932 33 odythiekhaxyusngkdphrrkhchawna inpi kh s 1933 khwislingidlaxxkcakphrrkhchawnaaelakxtngphrrkhniymfassistthichux Nasjonal Samling aemwaekhacaidrbkhwamniymphayhlngcakkarthiekhaidocmtinkkaremuxngniymfaysay aetphrrkhkhxngekhaimsamarthexachnakhwathinnginrthspha Storting id aelainwnthi 9 emsayn kh s 1940 kxngthpheyxrmnidyatraekhayudkhrxngnxrewyinkhnathiidiklkhubkhlanekhama ekhaidphyayamcayudxanacinkarkxrthpraharkhrngaerk odykarpawprakasthangwithyuxxkxakasipthwolk aetekhaklblmehlwphayhlngcakthirthbaleyxrmnidptiesththicasnbsnunrthbalkhxngekha tngaet pi kh s 1942 thung kh s 1945 ekhaidthahnathiepnnaykrthmntrinxrewy phunabriharrthnxrewyrwmkbphubriharphleruxneyxrmn oyesf ethxrobewn rthbalhunechidniymnasikhxngekha idepnthiruckkninthana rabxbkhwisling thithukkhrxbngaodykhnarthmntricakphrrkh Nasjonal Samling rthbalkhxngkhwislingidmiswnrwmkbmatrakarsudthayinkarkhalangephaphnthukhxngeyxrmni khwislingidthukcbkumtwaelathukitswninrahwangkarkwadlangfayniymfassistinnxrewyhlngsngkhramolkkhrngthisxng ekhathuktdsinwamikhwamphidinkhxhahlaykhxklawha rwmthngkarchxchl karkhatkrrm aelaepnphuthrysxyangihyhlwngtxrthnxrewyaelathuktdsinlngothsdwykarpraharchiwit ekhaidthukpraharchiwitdwy firing squad thi inkrungxxsol emuxwnthi 24 tulakhm kh s 1945 dwykhawa khwisling txmaidklayepnphasitsahrb phusmrurwmkhid hrux khnthrys inhlayphasa sungidsathxnaesdngihehnthungkhwamnasngewchinkarkrathakhxngkhwisling thnginchwngewlathiyngmichiwutaelacnkrathngthiekhaidesiychiwitlng