วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ (อังกฤษ: subprime mortgage crisis) หรือ วิกฤติซับไพรม์ และยังรู้จักกันในชื่อ วิกฤติสินเชื่อด้อยคุณภาพ (ในประเทศไทยอาจเรียกว่า วิกฤตแฮมเบอร์เกอร์) เป็นปัญหาเศรษฐกิจที่ปรากฏให้เห็นชัดในช่วงปี พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2551 จุดเด่นของวิกฤตินี้คือการที่ความคล่องตัวของตลาดสินเชื่อทั่วโลกและระบบธนาคารลดลง ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากความซบเซาของตลาดอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกา การกู้ยืมและการให้กู้ยืมที่มีความเสี่ยงสูง และระดับหนี้สินของบริษัทและบุคคลที่สูงเกินไป วิกฤติครั้งนี้มีผลหลายขั้นและค่อย ๆ เผยให้เห็นความอ่อนแอในระบบการเงินและระบบการควบคุมทั่วโลก
วิกฤติครั้งนี้เริ่มจากการที่ภาวะฟองสบู่ในตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐอเมริกาแตก และการผิดชำระหนี้ของสินเชื่อซับไพรม์และ ที่เริ่มต้นขึ้นในช่วง พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2549 ผู้กู้ยืมนั้นกู้ยืมสินเชื่อที่เกินกำลังโดยคิดว่าตนจะสามารถได้โดยง่าย เพราะในตลาดการเงินนั้นมีมาตรฐานการปล่อยกู้ที่ต่ำลง ผู้ปล่อยกู้เสนอข้อจูงใจในการกู้ยืม เช่นเงื่อนไขเบื้องต้นง่าย ๆ และแนวโน้มราคาบ้านที่เพิ่มสูงขึ้น แต่ทว่าการปรับโครงสร้างเงินกู้กลับเป็นไปได้ยากขึ้นเมื่ออัตราดอกเบี้ยเริ่มสูงขึ้นและราคาบ้านเริ่มต่ำลงในปี พ.ศ. 2549 - พ.ศ. 2550 ในหลายพื้นที่ในสหรัฐ และเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเมื่อหมดเงื่อนไขเบื้องต้นอย่างง่าย ราคาบ้านไม่สูงขึ้นอย่างที่คิด และอัตราดอกเบี้ยลอยตัวเริ่มสูงขึ้น การยึดทรัพย์สินในสหรัฐเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2549 และทำให้ปัญหาทางการเงินนั้นแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็วทั่วโลกในปี พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2551
ธนาคารและสถาบันทางการเงินที่สำคัญทั่วโลกรายงานยอดการขาดทุนที่สูงกว่า 4.35 แสนล้านดอลลาร์ในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
สาเหตุ
วิกฤติครั้งนี้มีสาเหตุที่ซับซ้อนและมาจากหลายปัจจัยซึ่งค่อยๆ พัฒนาตัวขึ้นในตลาดอสังหาริมทรัพย์และสินเชื่อ เช่น การที่เจ้าของบ้านไม่สามารถชำระเงินที่กู้ยืมมา การตัดสินใจที่ผิดพลาดของผู้กู้ยืมหรือผู้ปล่อยกู้ การเก็งกำไรและการสร้างบ้านมากเกินไปในช่วงที่ตลาดเติบโตอย่างรวดเร็ว สินค้าทางสินเชื่อที่มีความเสี่ยงสูง อัตราหนี้สินของบุคคลและบริษัทที่สูง นวัตกรรมทางการเงินที่กระจาย (ในขณะที่อาจจะปกปิด) ความเสี่ยงจากการผิดนัดชำระหนี้ นโยบายและการควบคุม (หรือการขาดการควบคุม) ของธนาคารกลาง
การขยายตัวของตลาดที่อยู่อาศัยและภาวะฟองสบู่แตก
ผลจากทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำและเงินทุนที่หลั่งไหลเข้ามาจากต่างประเทศก่อให้เกิดกองทุนที่สามารถปล่อยกู้มากมาย และทำให้สามารถขออนุมัติสินเชื่อได้ง่ายเป็นเวลาหลายปีก่อนจะเกิดวิกฤติสินเชื่อชั้นรองเป็นสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้อัตรากรรมสิทธิ์และความต้องการที่อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น อัตรากรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัยทั่วทั้งสหรัฐเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 64 ในปี 2537 (ซึ่งเป็นระดับที่คงตัวมาตั้งแต่ 2523) เป็นร้อยละ 69.2 ซึ่งเป็นอัตราสูงที่สุดในปี 2547
อุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้ราคาบ้านถีบตัวสูงขึ้นและทำให้ผู้บริโภคใช้จ่ายมากขึ้น ระหว่างปี 2540 และปี 2549 ราคาบ้านในสหรัฐเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12.4 เจ้าของบ้านหลายคนใช้ราคาสินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงภาวะฟองสบู่นี้เพื่อปรับโครงสร้างเงินกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำลงและกู้สินเชื่อเพิ่มจากการจำนองเคหะเดิมในส่วนที่ราคาสูงขึ้นเพื่อใช้บริโภค อัตราหนี้ครัวเรือนต่อรายได้ในสหรัฐเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 130 ในปี 2550 ซึ่งมากกว่าร้อยละ 100 ในช่วงต้นทศวรรษ
ในที่สุด การสร้างบ้านมากเกินไปในช่วงตลาดขยายตัวก็ทำให้เกิดอุปทานส่วนเกิน และทำให้ราคาบ้านตกลงตั้งแต่หน้าร้อนของปี พ.ศ. 2549 การปล่อยสินเชื่อให้ผู้กู้โดยง่ายและการคาดคะเนว่าราคาบ้านจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ กระตุ้นให้ผู้กู้ชั้นรองกู้สินเชื่อดอกเบี้ยลอยตัวที่พวกเขาไม่สามารถชำระหนี้ได้หลังพ้นจากช่วงเงื่อนไขจูงใจตอนต้น การปรับโครงสร้างเงินกู้เริ่มยากขึ้นเมื่อราคาบ้านเริ่มลดลงพอสมควรในหลายพื้นที่ของสหรัฐ เจ้าของบ้านหลายคนไม่สามารถปรับโครงสร้างเงินกู้ได้ จึงผิดนัดชำระหนี้เมื่อดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นและทำให้จำนวนเงินที่ต้องจ่ายคืนเพิ่มตามไปด้วย
จากการประมาณการในเดือนมีนาคม 2551 เจ้าของบ้านกว่า 8.8 ล้านคน (หรือเกือบร้อยละ 10.3 ของเจ้าของบ้านทั้งหมด) ตกอยู่ในสภาพที่มีหนี้เท่ากับหรือสูงกว่าราคาทรัพย์สิน ซึ่งหมายความว่าบ้านของเขามีมูลค่าน้อยกว่าสินเชื่อค้างชำระ และทำให้พวกเขาเกิดแรงจูงใจที่จะทิ้งบ้านไป แม้จะทำให้ประวัติการกู้ยืมเสียไปก็ตาม
อัตราการยึดทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้นและการที่เจ้าของบ้านจำนวนมากไม่ยอมขายบ้านในราคาตลาดที่ต่ำลงทำให้มีสินค้าบ้านคงคลังจำนวนมาก ปริมาณการขายบ้านใหม่ในปี 2550 ลดลงร้อยละ 26.4 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ในเดือนมกราคม 2551 สินค้าบ้านใหม่คงคลังมีมากถึง 9.6 เดือน (หากคำนวณโดยใช้ยอดขายในเดือนสิงหาคม 2550) ซึ่งนับเป็นจำนวนที่สูงที่สุดตั้งแต่ปี 2524 มีบ้านประมาณ 4 ล้านหลังที่ขายไม่ได้
สินค้าบ้านคงคลังส่วนเกินนี้ก็กดราคาบ้านให้ต่ำลงไปอีก และยิ่งราคาบ้านต่ำลงเจ้าของบ้านที่เสี่ยงต่อการผิดนัดชำระหนี้และถูกยึดทรัพย์สินก็ยิ่งเพิ่มขึ้น จาก ราคาบ้านในสหรัฐเฉลี่ยในเดือนธันวาคม 2549 ลดลงร้อยละ 10.4 และราคาเดือนพฤษภาคม 2551 ลดลงร้อยละ 15.8 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า คาดว่าราคาบ้านจะลดลงต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าสินค้าบ้านคงคลังเหล่านี้จะลดลงจนเหลือระดับปกติที่เคยเป็นมา
การเก็งกำไร
การเก็งกำไรก็เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องอันหนึ่ง ในปี 2549 ร้อยละ 22 ของบ้านที่ถูกซื้อ (1.65 ล้านหลัง) เป็นการซื้อเพื่อการลงทุน และอีกร้อยละ 14 (1.07 ล้านหลัง) เป็นการซื้อเพื่อเป็นบ้านตากอากาศ และในปี 2548 คิดเป็นร้อยละ 28 และ 12 ตามลำดับ ซึ่งสรุปได้ว่าร้อยละ 40 ของการซื้อบ้านนั้นไม่ใช่เพื่อการใช้เป็นที่อยู่อาศัย เดวิด ลีรีอาห์ หัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของสมาคมผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติของสหรัฐ กล่าวว่า นักลงทุนถอนตัวออกจากตลาดในปี 2549 ซึ่งทำให้การซื้อขายเพื่อการลงทุนลดลงมากกว่าในตลาดเพื่อการอาศัย
แม้ว่าแต่เดิมการซื้อบ้านมักจะไม่มีจุดประสงค์เพื่อการลงทุนดังเช่นหุ้น แต่พฤติกรรมในระหว่างที่ตลาดอสังหาริมทรัพย์ขยายตัวนั้นก็เปลี่ยนไป ตัวอย่างเช่น มีการประมาณว่าเกือบร้อยละ 85 ของคอนโดมีเนียมที่ถูกซื้อในไมอามีเป็นการซื้อเพื่อการลงทุน สื่อต่าง ๆ พากันรายงานถึงพฤติกรรมการซื้อคอนโดมีเนียมก่อนที่จะสร้างเสร็จ แล้วก็ขายทำกำไรโดยไม่อาศัยในบ้านนั้นเลย บริษัทสินเชื่อหลายแห่งเริ่มสังเกตเห็นความเสี่ยงจากพฤติกรรมแบบนี้ตั้งแต่ 2548 หลังจากที่พบว่าการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์จำนวนมากเป็นการลงทุนที่มีสัดส่วนการกู้เงินมาลงทุนสูง
นักเศรษฐศาสตร์สายเคนส์ กล่าวถึงการกู้ยืมเพื่อเก็งกำไรสามแบบที่สามารถทำให้เกิดหนี้สะสมและทำให้มูลค่าสินทรัพย์ต้องหมดไปในที่สุด ได้แก่ ผู้กู้ยืมป้องกันความเสี่ยงคือผู้กู้ยืมที่สามารถชำระหนี้คืนได้ด้วยเงินในการลงทุนส่วนอื่น ผู้กู้ยืมเก็งกำไรซึ่งสามารถชำระดอกเบี้ยได้ แต่ต้องกู้เงินจากแหล่งใหม่เพื่อมาชำระหนี้สินเดิม และผู้กู้ยืมพอนซี (ซึ่งตั้งชื่อตามนักต้มตุ๋น ) ที่ไม่สามารถชำระหนี้หรือดอกเบี้ยได้ และต้องพึ่งพาการเพิ่มค่าของสินทรัพย์ (เช่นอสังหาริมทรัพย์) เพื่อปรับโครงสร้างหนี้
กล่าวกันว่าการกู้ยืมเพื่อเก็งกำไรนั้นเป็นปัจจัยเกี่ยวข้องที่ทำให้เกิดวิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
สินเชื่อความเสี่ยงสูง
สัดส่วนของสินเชื่อชั้นรองเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ 5 (3.5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2537 ร้อยละ 9 ในปี 2539 ร้อยละ 13 (1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2542 จนถึงร้อยละ 20 (6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ) ในปี 2549 งานวิจัยชิ้นหนึ่งของธนาคารกลางสหรัฐกล่าวว่าความแตกต่างเฉลี่ยของดอกเบี้ยสินเชื่อชั้นรองกับสินเชื่อชั้นหนึ่ง (หรือ "ค่าชดเชยความเสี่ยง") ลดลงจากร้อยละ 2.8 จุด (280 ) ในปี 2544 เหลือร้อยละ 1.3 จุด ในปี 2550 ซึ่งหมายความว่าค่าชดเชยความเสี่ยงที่ผู้ปล่อยกู้ต้องการจากการปล่อยสินเชื่อชั้นรองนั้นลดลง แนวโน้มนี้เกิดขึ้นทั้งที่ผู้กู้ชั้นรองและลักษณะพิเศษของสินเชื่อนั้นลดลง (ซึ่งความจริงแล้วควรให้ผลตรงกันข้าม) ลักษณะแบบนี้จะเห็นได้บ่อยในวัฏจักรการเติบโตและการซบเซาของสินเชื่อ
นอกเหนือจากผู้กู้ยืมความเสี่ยงสูงที่เพิ่มขึ้นแล้ว ผู้ปล่อยกู้ก็เสนอทางเลือกและสิ่งจูงใจของสินเชื่อที่มีความเสี่ยงสูงมากขึ้นด้วย เช่น สินเชื่อสำหรับผู้ไม่มีรายได้ ไม่มีงาน และไม่มีสินทรัพย์ หรือที่เรียกว่าสินเชื่อนินจา (NINJA: No Income, No Job and no Assets) สินเชื่อดอกเบี้ยลอยตัวที่อนุญาตให้เจ้าของบ้านจ่ายเฉพาะดอกเบี้ยในช่วงแรกของการกู้ยืม และ ทางเลือกการจ่ายเงิน ที่ผู้กู้สามารถกำหนดจำนวนเงินที่จะชำระได้เอง แต่ดอกเบี้ยที่ยังไม่ได้จ่ายจะถูกรวมเข้าไปในเงินต้น นอกจากนี้ ยังมีการประเมินว่าประมาณ 1 ใน 3 ของสินเชื่อดอกเบี้ยลอยตัวที่ปล่อยกู้ในช่วง 2547 ถึง 2549 มีอัตราช่วงแรกต่ำกว่าร้อยละ 4 แต่เมื่อพ้นช่วงนั้นแล้วอัตราดอกเบี้ยก็เพิ่มขึ้นสูงมากจนทำให้เงินที่ต้องชำระในแต่ละเดือนเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัว
การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
เป็นขั้นตอนหนึ่งของการเงินแปลงรูป ซึ่งสินทรัพย์หรือตราสารทางการเงินอื่น ๆ ที่ได้รับมาจะถูกแยกออกเป็นกอง และนำเสนอเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันในการลงทุนแก่บุคคลที่สาม การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เมื่อผนวกกับความต้องการลงทุนในตราสารหนี้ที่มีหลักทรัพย์จำนองค้ำประกัน (หรือ mortgage-backed security, MBS) และแนวโน้มที่บริษัทจัดอันดับยอมรับ MBS ว่าอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการลงทุน ก็ทำให้สินเชื่อความเสี่ยงสูงสามารถถูกแปลงรูป และความเสี่ยงที่มีอยู่นั้นก็ถูกส่งผ่านออกไปยังนักลงทุน
ตามโมเดลสินเชื่อแบบดั้งเดิมนั้น ธนาคารจะเป็นผู้ออกสินเชื่อให้แก่ผู้กู้ยืม (เจ้าของบ้าน) และเป็นผู้แบกรับความเสี่ยงของเงินกู้ (การผิดนัดชำระเงิน) แต่เมื่อเริ่มใช้การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ โมเดลแบบเดิมก็กลายเป็นโมเดล "ปล่อยกู้เพื่อกระจายออก" ซึ่งความเสี่ยงของเงินกู้ถูกส่งต่อ (กระจาย) ไปยังนักลงทุน สัดส่วนของสินเชื่อชั้นรองที่ถูกแปลงเป็นหลักทรัพย์นั้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 54 ในปี 2544 เป็นร้อยละ 75 ในปี 2549กล่าวว่าสิ่งที่ทำให้เกิดวิกฤติเครดิตทั่วโลกนั้นไม่ใช่สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของผู้กู้ความเสี่ยงสูง แต่เป็นการแปลงสินเชื่อเหล่านั้นให้เป็นหลักทรัพย์ต่างหาก
หลายคนเชื่อว่าการที่มาตรฐานการปล่อยกู้หละหลวมขึ้นนั้นเป็นเพราะปัญหา ซึ่งทุกส่วนในแต่ละขั้นตอนของการปล่อยสินเชื่อนั้นเก็บเกี่ยวกำไรโดยเชื่อว่าตนส่งผ่านความเสี่ยงไปยังบุคคลอื่น
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง
การจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่สูงเกินความเป็นจริงกระตุ้นให้การลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีสินเชื่อชั้นรองเป็นหลักประกันเพิ่มขึ้น และเป็นการส่งเสริมทางการเงินให้ตลาดบ้านขยายตัว การจัดอันดับที่สูงขึ้นได้รับการยอมรับเพราะมีการเพิ่มระดับความน่าเชื่อถือด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การวางหลักทรัพย์ค้ำประกันสูงกว่าเงินกู้ และการประกันการผิดนัดชำระหนี้ นักวิจารณ์กล่าวว่าความขัดแย้งของผลประโยชน์มีส่วนเกี่ยวข้องการจัดอันดับที่ผิดพลาด เพราะบริษัทจัดอันดับได้รับเงินจากบริษัทที่จัดตั้งและขายหลักทรัพย์แก่นักลงทุน เช่นวาณิชธนกิจในวันที่ 11 มิถุนายน 2551 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งสหรัฐอเมริกาได้เสนอกฎเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์ที่เห็นได้ชัดระหว่างบริษัทจัดอันดับและผู้ออกหลักทรัพย์แปรรูป
บริษัทจัดอันดับลดอันดับเครดิตของ MBS มูลค่า 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในระหว่างไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 จนถึงไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ซึ่งส่งผลทำให้สถาบันทางการเงินต้องลดมูลค่า MBS ลงไปอีก สถาบันเหล่านี้จึงต้องหาเงินทุนเพิ่มเพื่อรักษาอัตราทุน และหากเพิ่มทุนด้วยวิธีออกหุ้นใหม่ก็จะทำให้ราคาหุ้นปัจจุบันลดลง หรือสรุปได้ว่าการลดอันดับความน่าเชื่อถือทำให้ MBS และราคาหุ้นลดลง
นโยบายรัฐบาล
นักวิจารณ์หลายคนให้ความเห็นว่าโครงสร้างกฎหมายในปัจจุบันนั้นล้าสมัย ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุชกล่าวเมื่อเดือนกันยายน 2551 ว่า "เมื่อวิกฤติครั้งนี้ได้รับการแก้ไขแล้ว ก็ถึงเวลาที่จะต้องปรับปรุงโครงสร้างกฎหมายทางการเงินให้ทันสมัยขึ้น เศรษฐกิจในโลกยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21 ยังคงถูกควบคุมโดยกฎหมายยุคศตวรรษที่ 20 ที่ล้าสมัย เมื่อไม่นานนี้เราก็ได้เห็นการที่บริษัทขยายตัวขนาดใหญ่มากจนความล้มเหลวของมันทำให้ระบบการเงินทั้งระบบเป็นอันตรายได้" สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งสหรัฐอเมริกายอมรับว่าการควบคุมตนเองของของวาณิชธนกิจมีส่วนทำให้เกิดวิกฤติครั้งนี้ขึ้น
นโยบายของธนาคารกลาง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลกระทบและช่วงขาลงของตลาดการเงินปี พ.ศ. 2550 - 2551
ช่วงขาลงของภาคการเงิน
ในเดือนสิงหาคม 2551 สถาบันการเงินทั่วโลกมียอดขาดทุนและการลดค่าทางบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อซับไพรม์เกินกว่า 5 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ กำไรของธนาคารสหรัฐ 8,533 แห่งที่รับรองโดยลดลงจาก 3.52 หมื่นล้านดอลลาร์ในไตรมาสที่ 4 ปี 2549 เหลือเพียง 646 ล้านดอลลาร์ ในไตรมาสเดียวกันของปี 2550 ซึ่งเป็นผลมาจากการผิดนัดชำระหนี้ที่เพิ่มขึ้นจำนวนมากและค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และนับเป็นผลประกอบการที่แย่ที่สุดตั้งแต่ปี 2533 ตลอดปี 2550 ธนาคารเหล่านี้มีกำไรประมาณ 1 แสนล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงประมาณร้อยละ 31 จาก 1.45 แสนล้านดอลลาร์ซึ่งเป็นผลกำไรที่สูงเป็นสถิติในปี 2549 กำไรในไตรมาสแรกของปี 2551 คือ 1.93 หมื่นล้านดอลลาร์ ซึ่งลดลงถึงร้อยละ 46 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า
ภาคการเงินเริ่มรับรู้ถึงผลของวิกฤติในครั้งนี้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2550 ด้วยการขาดทุนถึง 1.05 หมื่นล้านดอลลาร์ของเอชเอสบีซี ซึ่งเป็นประกาศแรกของการขาดทุนจากซีดีโอหรือเอ็มบีโอ ตลอดปี 2550 บริษัทสินเชื่อมากกว่า 100 แห่งถูกปิด พักกิจการ หรือถูกขายต่อ ผู้บริหารระดับสูงก็โดนผลกระทบด้วย เช่นประธานเจ้าหน้าที่บริหารของเมอร์ริล ลินช์และซิตีกรุ๊ปลาออกห่างกันไม่ถึงสัปดาห์ สถาบันอื่น ๆ ก็ต้องควบรวมกิจการเพื่อความอยู่รอด
ตลาดอ่อนตัวและผลกระทบ
วิกฤติซับไพรม์ทำให้เกิดความตื่นตระหนกในภาคการเงินและทำให้นักลงทุนพากันถอนเงินออกจากพันธบัตรที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อที่มีความเสี่ยงและหุ้นที่มีราคาไม่แน่นอน และนำไปเก็บสะสมในรูปของแทน การเก็งกำไรในราคาล่วงหน้าของสินค้าต่าง ๆ หลังจากตลาดอนุพันธ์ล่ม ทำให้เกิดปัญหาวิกฤติราคาอาหารโลกและ นักเก็งกำไรที่ต้องการผลตอบแทนในระยะสั้นถอนเงินจำนวนหลายล้านล้านดอลลาร์จากหุ้นและพันธบัตร และนำบางส่วนไปลงทุนในอาหารและวัตถุดิบต่าง ๆ
ประมาณกลางปี 2551 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ที่สำคัญทั้งสาม (ดัชนีเฉลี่ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์, NASDAQ และ S&P 500) เข้าสู่ ในวันที่ 15 กันยายน 2551 ความกังวลใจต่าง ๆ เกี่ยวกับตลาดการเงินเป็นสาเหตุทำให้ดัชนีตกมากที่สุดตั้งแต่เหตุการณ์วินาศกรรมในปี 2544 เหตุการณ์ที่เป็นสาเหตุหลักคือการประกาศล้มละลายของวาณิชธนกิจ นอกจากนี้ ยังถูกบังคับให้รวมกิจการกับธนาคารแบงก์ออฟอเมริกาด้วยมูลค่า 5 หมื่นล้านดอลลาร์ และความกังวลใจเกี่ยวกับสภาพคล่องของทำให้มูลค่าในตลาดหุ้นตกลงมากกว่าร้อยละ 60 ในวันนั้น
ผลกระทบทางอ้อม
วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบกับสภาพเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาหลายอย่าง จีดีพีของสหรัฐอเมริกาถูกประเมินว่าจะหดตัวลงร้อยละ 5.5 ต่อปีในระหว่างไตรมาสที่สี่ของปี พ.ศ. 2551 นายจ้างเลิกจ้างกว่า 2.6 ล้านตำแหน่งระหว่างปี 2551 ซึ่งเป็นจำนวนที่มากที่สุดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2488 ในเดือนกันยายน 2551 จำนวนคนตกงานในสาขาการเงินสูงถึง 65,400 คนในสหรัฐ อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นจนถึงร้อยละ 7.2 ในเดือนธันวาคม ซึ่งเป็นอัตราที่สูงที่สุดในรอบ 16 ปี
อ้างอิง
- "Episode 06292007". . June 29, 2007. . Transcript June 29, 2007.
- Justin Lahart (December 24, 2007). "Egg Cracks Differ In Housing, Finance Shells". . Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ July 13, 2008.
- . realtytrac.com. RealtyTrac Inc. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "Merrill Lynch Posts Fourth Straight Quarterly Loss". Bloomberg.com. 2008-07-17.
- Yalman Onaran (2008-05-19). "Subprime Losses Top $379 Billion on Balance-Sheet Marks: Table". Bloomberg.com. Bloomberg L.P. สืบค้นเมื่อ 2008-06-04.
- "FT.com / Video & Audio / Interactive graphics - Credit squeeze explained". 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- Joseph Stiglitz (2008-09-17). "Commentary: How to prevent the next Wall Street crisis". CNN.
- "President Bush's Address to Nation".
- "CENSUS BUREAU REPORTS ON RESIDENTIAL VACANCIES AND HOMEOWNERSHIP" (PDF). U.S. Census Bureau. 26 October 2007.
- "Housing Affordability Hits 14-Year Low". 2005-12-23.
- "CSI: credit crunch". The Economist. 2007-10-18. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "America's economy". The Economist. 2007-11-15. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "Negative Equity". The New York Times. 2008-02-22. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "New home sales fell by record amount in 2007 - Real estate - MSNBC.com". 2008-01-31. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "Housing Meltdown". Business Week. 2008-01-31. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "Case Shiller Index May 2008" (PDF).
- "Speculation statistics". CNNMoney.com. 2007-04-30.
- "Speculative flipping". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-09.
- "Speculation Risks". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-10.
- "www.dailyreckoning.co.uk/economic-forecasts/hyman-minsky-why-is-the-economist-suddenly-popular.html". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-10.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-11. สืบค้นเมื่อ 2008-10-10.
- LOUIS UCHITELLE (October 26, 1996). "H. P. Minsky, 77, Economist Who Decoded Lending Trends". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-09-26.
- "Warning signs of a bad home loan (Page 2 of 2)". 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "NPR: Economists Brace for Worsening Subprime Crisis". 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "FRB: Speech-Bernanke, Fostering Sustainable Homeownership-14 March 2008".
- "FRB: Speech-Bernanke, Fostering Sustainable Homeownership". Federalreserve.gov. March 14, 2008. สืบค้นเมื่อ October 26, 2008.
- Demyanyk, Yuliya; Van Hemert, Otto (2008-08-19). "Understanding the Subprime Mortgage Crisis". Working Paper Series. Social Science Electronic Publishing. สืบค้นเมื่อ 2008-09-18.
- "'Ninja' loans explode on sub-prime frontline". Telegraph.co.uk. 2008-09-22.
- "NPR: Economists Brace for Worsening Subprime Crisis". 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- Black's Law Dictionary (7th ed)
- "Greenspan sees signs of credit crisis easing - Stocks & economy - MSNBC.com". 2007-10-02. สืบค้นเมื่อ 2008-10-15.
- Lewis, Holden (18 April 2007). "'Moral hazard' helps shape mortgage mess". Bankrate.com.
- "Credit and blame". Economist.com. 2007-09-06.
- "SEC Proposes Comprehensive Reforms to Bring Increased Transparency to Credit Rating Process". 6 Nov 2008. สืบค้นเมื่อ 6 Nov 2008.
- "Fortune Article". CNNMoney.com.
- "President's Address to the Nation September 2008".
- "SEC Concedes Oversight Flaws". The New York Times. 2008-09-26.
- "The Reckoning". The New York Times. 2008-10-02.
- "Banks' Subprime Losses Top $500 Billion on Writedowns (Update1)".
- "FDIC Quarterly Profile Q1 08" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-26.
- "FDIC Profile FY 2007 Pre-Adjustment" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-06-07. สืบค้นเมื่อ 2008-10-26.
- "Timeline: Sub-prime losses". BBC NEWS.
- "Wall Street Firms Cut 34,000 Jobs, Most Since 2001 Dot-Com Bust". Bloomberg.com.
- "Prince out as Citigroup CEO; more writedowns disclosed - Nov. 4, 2007". 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "Similar deals expected to follow Countrywide sale". Mark McSherry. Reuters. 2008-01-11. สืบค้นเมื่อ 2008-05-19.
- "The cost of food: Facts and figures". BBC News.
- "Speculation is pushing up oil prices".
- "Mother of all bubbles prepares to burst".
- . New Statesman. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-21. สืบค้นเมื่อ 2008-04-28.
- "Pain Continues on Wall Street as Lehman Goes Bankrupt, and Merrill Sold to BofA". ABC News. 2008-09-15.
- "More layoffs coming to Wall Street - Sep. 15, 2008". Money.cnn.com. สืบค้นเมื่อ 2008-10-26.
- Bloomberg-Summers Says Economy Entering Difficult Time
แหล่งข้อมูลอื่น
- Financial Crisis Inquiry Commission – Homepage
- Report of Financial Crisis Inquiry Commission-January 2011
- FCIC – Graphics Page
- Federal Reserve-Subprime Mortgage Crisis History Page ธันวาคม 9, 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Federal Reserve-Timeline of the financial crisis
- Reuters: – multimedia interactive charting the year of global change
- PBS Frontline – Inside the Meltdown
- PBS – What You Need to Know About the Crisis
- . CNN. December 1, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 16, 2008. สืบค้นเมื่อ May 24, 2010.
- "The US sub-prime crisis in graphics". BBC. November 21, 2007.
- CNN Scorecard of Bailout Funds at CNN Bailout Allocations & Payments
- The Crisis of Credit Visualized – Infographic by Jonathan Jarvis
- The Economic Crisis: Its Origins and the Way Forward Video of lecture given by Marshall Carter, chairman of the New York Stock Exchange, at Boston University, April 15, 2009
- Home Ownership, the Subprime Lending Crisis, and Financial Instability by Masum Momaya – International Museum of Women
- The Financial Crisis: What Happened and Why – Lecture 2 มกราคม 19, 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Video of lecture given in July 2009, by Yaron Brook, professor of finance and executive director of the
- Lectures by to an economics class at March 2012
- "Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 1" Recorded live on March 20, 2012, 10:35am MST
- "Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 2" Recorded live on March 22, 2012, 10:35am MST
- "Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 3" Recorded live on March 27, 2012, 10:38am MST
- "Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 4" Recorded live on March 29, 2012, 10:38am MST
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wikvtisinechuxsbiphrm xngkvs subprime mortgage crisis hrux wikvtisbiphrm aelayngruckkninchux wikvtisinechuxdxykhunphaph inpraethsithyxaceriykwa wikvtaehmebxrekxr epnpyhaesrsthkicthipraktihehnchdinchwngpi ph s 2550 aela ph s 2551 cudednkhxngwikvtinikhuxkarthikhwamkhlxngtwkhxngtladsinechuxthwolkaelarabbthnakharldlng sungmisaehtuhlkmacakkhwamsbesakhxngtladxsngharimthrphyinshrthxemrika karkuyumaelakarihkuyumthimikhwamesiyngsung aelaradbhnisinkhxngbristhaelabukhkhlthisungekinip wikvtikhrngnimiphlhlaykhnaelakhxy ephyihehnkhwamxxnaexinrabbkarenginaelarabbkarkhwbkhumthwolk wikvtikhrngnierimcakkarthiphawafxngsbuintladthixyuxasykhxngshrthxemrikaaetk aelakarphidcharahnikhxngsinechuxsbiphrmaela thierimtnkhuninchwng ph s 2548 ph s 2549 phukuyumnnkuyumsinechuxthiekinkalngodykhidwatncasamarthidodyngay ephraaintladkarenginnnmimatrthankarplxykuthitalng phuplxykuesnxkhxcungicinkarkuyum echnenguxnikhebuxngtnngay aelaaenwonmrakhabanthiephimsungkhun aetthwakarprbokhrngsrangenginkuklbepnipidyakkhunemuxxtradxkebiyerimsungkhunaelarakhabanerimtalnginpi ph s 2549 ph s 2550 inhlayphunthiinshrth aelaephimmakkhunxyangehnidchdemuxhmdenguxnikhebuxngtnxyangngay rakhabanimsungkhunxyangthikhid aelaxtradxkebiylxytwerimsungkhun karyudthrphysininshrthephimkhunxyangrwderwtngaetplaypi ph s 2549 aelathaihpyhathangkarenginnnaephrkracayipxyangrwderwthwolkinpi ph s 2550 ph s 2551 thnakharaelasthabnthangkarenginthisakhythwolkraynganyxdkarkhadthunthisungkwa 4 35 aesnlandxllarinwnthi 17 krkdakhm ph s 2551saehtuwikvtikhrngnimisaehtuthisbsxnaelamacakhlaypccysungkhxy phthnatwkhunintladxsngharimthrphyaelasinechux echn karthiecakhxngbanimsamarthcharaenginthikuyumma kartdsinicthiphidphladkhxngphukuyumhruxphuplxyku karekngkairaelakarsrangbanmakekinipinchwngthitladetibotxyangrwderw sinkhathangsinechuxthimikhwamesiyngsung xtrahnisinkhxngbukhkhlaelabrisththisung nwtkrrmthangkarenginthikracay inkhnathixaccapkpid khwamesiyngcakkarphidndcharahni noybayaelakarkhwbkhum hruxkarkhadkarkhwbkhum khxngthnakharklang karkhyaytwkhxngtladthixyuxasyaelaphawafxngsbuaetk canwnsinthrphythithukyudaebngtamitrmas phlcakthngxtradxkebiythitaaelaenginthunthihlngihlekhamacaktangpraethskxihekidkxngthunthisamarthplxykumakmay aelathaihsamarthkhxxnumtisinechuxidngayepnewlahlaypikxncaekidwikvtisinechuxchnrxngepnsaehtuthisakhyxyanghnungthithaihxtrakrrmsiththiaelakhwamtxngkarthixyuxasyephimkhun xtrakrrmsiththiinthixyuxasythwthngshrthephimkhuncakrxyla 64 inpi 2537 sungepnradbthikhngtwmatngaet 2523 epnrxyla 69 2 sungepnxtrasungthisudinpi 2547 xupsngkhthiephimkhunnithaihrakhabanthibtwsungkhunaelathaihphubriophkhichcaymakkhun rahwangpi 2540 aelapi 2549 rakhabaninshrthephimkhunthungrxyla 12 4 ecakhxngbanhlaykhnichrakhasinthrphythiephimkhuninchwngphawafxngsbuniephuxprbokhrngsrangenginkudwyxtradxkebiythitalngaelakusinechuxephimcakkarcanxngekhhaediminswnthirakhasungkhunephuxichbriophkh xtrahnikhrweruxntxrayidinshrthephimkhunepnrxyla 130 inpi 2550 sungmakkwarxyla 100 inchwngtnthswrrs inthisud karsrangbanmakekinipinchwngtladkhyaytwkthaihekidxupthanswnekin aelathaihrakhabantklngtngaethnarxnkhxngpi ph s 2549 karplxysinechuxihphukuodyngayaelakarkhadkhaenwarakhabancasungkhuneruxy kratunihphukuchnrxngkusinechuxdxkebiylxytwthiphwkekhaimsamarthcharahniidhlngphncakchwngenguxnikhcungictxntn karprbokhrngsrangenginkuerimyakkhunemuxrakhabanerimldlngphxsmkhwrinhlayphunthikhxngshrth ecakhxngbanhlaykhnimsamarthprbokhrngsrangenginkuid cungphidndcharahniemuxdxkebiyephimkhunaelathaihcanwnenginthitxngcaykhunephimtamipdwy cakkarpramankarineduxnminakhm 2551 ecakhxngbankwa 8 8 lankhn hruxekuxbrxyla 10 3 khxngecakhxngbanthnghmd tkxyuinsphaphthimihniethakbhruxsungkwarakhathrphysin sunghmaykhwamwabankhxngekhamimulkhanxykwasinechuxkhangchara aelathaihphwkekhaekidaerngcungicthicathingbanip aemcathaihprawtikarkuyumesiyipktam xtrakaryudthrphysinthiephimkhunaelakarthiecakhxngbancanwnmakimyxmkhaybaninrakhatladthitalngthaihmisinkhabankhngkhlngcanwnmak primankarkhaybanihminpi 2550 ldlngrxyla 26 4 emuxethiybkbpikxnhna ineduxnmkrakhm 2551 sinkhabanihmkhngkhlngmimakthung 9 6 eduxn hakkhanwnodyichyxdkhayineduxnsinghakhm 2550 sungnbepncanwnthisungthisudtngaetpi 2524 mibanpraman 4 lanhlngthikhayimid sinkhabankhngkhlngswnekinnikkdrakhabanihtalngipxik aelayingrakhabantalngecakhxngbanthiesiyngtxkarphidndcharahniaelathukyudthrphysinkyingephimkhun cak rakhabaninshrthechliyineduxnthnwakhm 2549 ldlngrxyla 10 4 aelarakhaeduxnphvsphakhm 2551 ldlngrxyla 15 8 emuxethiybkbpikxnhna khadwarakhabancaldlngtxiperuxy cnkwasinkhabankhngkhlngehlanicaldlngcnehluxradbpktithiekhyepnma karekngkair karekngkairkepnpccythiekiywkhxngxnhnung inpi 2549 rxyla 22 khxngbanthithuksux 1 65 lanhlng epnkarsuxephuxkarlngthun aelaxikrxyla 14 1 07 lanhlng epnkarsuxephuxepnbantakxakas aelainpi 2548 khidepnrxyla 28 aela 12 tamladb sungsrupidwarxyla 40 khxngkarsuxbannnimichephuxkarichepnthixyuxasy edwid lirixah hwhnankesrsthsastrkhxngsmakhmphuprakxbkarxsngharimthrphyaehngchatikhxngshrth klawwa nklngthunthxntwxxkcaktladinpi 2549 sungthaihkarsuxkhayephuxkarlngthunldlngmakkwaintladephuxkarxasy aemwaaetedimkarsuxbanmkcaimmicudprasngkhephuxkarlngthundngechnhun aetphvtikrrminrahwangthitladxsngharimthrphykhyaytwnnkepliynip twxyangechn mikarpramanwaekuxbrxyla 85 khxngkhxnodmieniymthithuksuxinimxamiepnkarsuxephuxkarlngthun suxtang phaknraynganthungphvtikrrmkarsuxkhxnodmieniymkxnthicasrangesrc aelwkkhaythakairodyimxasyinbannnely bristhsinechuxhlayaehngerimsngektehnkhwamesiyngcakphvtikrrmaebbnitngaet 2548 hlngcakthiphbwakarlngthuninxsngharimthrphycanwnmakepnkarlngthunthimisdswnkarkuenginmalngthunsung nkesrsthsastrsayekhns klawthungkarkuyumephuxekngkairsamaebbthisamarththaihekidhnisasmaelathaihmulkhasinthrphytxnghmdipinthisud idaek phukuyumpxngknkhwamesiyngkhuxphukuyumthisamarthcharahnikhuniddwyengininkarlngthunswnxun phukuyumekngkairsungsamarthcharadxkebiyid aettxngkuengincakaehlngihmephuxmacharahnisinedim aelaphukuyumphxnsi sungtngchuxtamnktmtun thiimsamarthcharahnihruxdxkebiyid aelatxngphungphakarephimkhakhxngsinthrphy echnxsngharimthrphy ephuxprbokhrngsranghni klawknwakarkuyumephuxekngkairnnepnpccyekiywkhxngthithaihekidwikvtisinechuxsbiphrm sinechuxkhwamesiyngsung sinechuxsbiphrm sdswnkhxngsinechuxchnrxngephimkhuneruxy cakrxyla 5 3 5 hmunlandxllarshrth inpi 2537 rxyla 9 inpi 2539 rxyla 13 1 6 aesnlandxllarshrth inpi 2542 cnthungrxyla 20 6 aesnlandxllarshrth inpi 2549 nganwicychinhnungkhxngthnakharklangshrthklawwakhwamaetktangechliykhxngdxkebiysinechuxchnrxngkbsinechuxchnhnung hrux khachdechykhwamesiyng ldlngcakrxyla 2 8 cud 280 inpi 2544 ehluxrxyla 1 3 cud inpi 2550 sunghmaykhwamwakhachdechykhwamesiyngthiphuplxykutxngkarcakkarplxysinechuxchnrxngnnldlng aenwonmniekidkhunthngthiphukuchnrxngaelalksnaphiesskhxngsinechuxnnldlng sungkhwamcringaelwkhwrihphltrngknkham lksnaaebbnicaehnidbxyinwtckrkaretibotaelakarsbesakhxngsinechux nxkehnuxcakphukuyumkhwamesiyngsungthiephimkhunaelw phuplxykukesnxthangeluxkaelasingcungickhxngsinechuxthimikhwamesiyngsungmakkhundwy echn sinechuxsahrbphuimmirayid immingan aelaimmisinthrphy hruxthieriykwasinechuxninca NINJA No Income No Job and no Assets sinechuxdxkebiylxytwthixnuyatihecakhxngbancayechphaadxkebiyinchwngaerkkhxngkarkuyum aela thangeluxkkarcayengin thiphukusamarthkahndcanwnenginthicacharaidexng aetdxkebiythiyngimidcaycathukrwmekhaipinengintn nxkcakni yngmikarpraeminwapraman 1 in 3 khxngsinechuxdxkebiylxytwthiplxykuinchwng 2547 thung 2549 mixtrachwngaerktakwarxyla 4 aetemuxphnchwngnnaelwxtradxkebiykephimkhunsungmakcnthaihenginthitxngcharainaetlaeduxnephimkhunekuxbethatw karaeplngsinthrphyepnhlkthrphy epnkhntxnhnungkhxngkarenginaeplngrup sungsinthrphyhruxtrasarthangkarenginxun thiidrbmacathukaeykxxkepnkxng aelanaesnxepnhlkthrphykhaprakninkarlngthunaekbukhkhlthisam karaeplngsinthrphyepnhlkthrphy emuxphnwkkbkhwamtxngkarlngthunintrasarhnithimihlkthrphycanxngkhaprakn hrux mortgage backed security MBS aelaaenwonmthibristhcdxndbyxmrb MBS waxyuinradbthiehmaasmkbkarlngthun kthaihsinechuxkhwamesiyngsungsamarththukaeplngrup aelakhwamesiyngthimixyunnkthuksngphanxxkipyngnklngthun tamomedlsinechuxaebbdngedimnn thnakharcaepnphuxxksinechuxihaekphukuyum ecakhxngban aelaepnphuaebkrbkhwamesiyngkhxngenginku karphidndcharaengin aetemuxerimichkaraeplngsinthrphyepnhlkthrphy omedlaebbedimkklayepnomedl plxykuephuxkracayxxk sungkhwamesiyngkhxngenginkuthuksngtx kracay ipyngnklngthun sdswnkhxngsinechuxchnrxngthithukaeplngepnhlkthrphynnephimkhuncakrxyla 54 inpi 2544 epnrxyla 75 inpi 2549klawwasingthithaihekidwikvtiekhrditthwolknnimichsinechuxephuxthixyuxasykhxngphukukhwamesiyngsung aetepnkaraeplngsinechuxehlannihepnhlkthrphytanghak hlaykhnechuxwakarthimatrthankarplxykuhlahlwmkhunnnepnephraapyha sungthukswninaetlakhntxnkhxngkarplxysinechuxnnekbekiywkairodyechuxwatnsngphankhwamesiyngipyngbukhkhlxun karcdxndbkhwamnaechuxthuxthiimtrngkbkhwamepncring karcdxndbkhwamnaechuxthuxthisungekinkhwamepncringkratunihkarlngthuninhlkthrphythimisinechuxchnrxngepnhlkpraknephimkhun aelaepnkarsngesrimthangkarenginihtladbankhyaytw karcdxndbthisungkhunidrbkaryxmrbephraamikarephimradbkhwamnaechuxthuxdwywithitang echn karwanghlkthrphykhapraknsungkwaenginku aelakarpraknkarphidndcharahni nkwicarnklawwakhwamkhdaeyngkhxngphlpraoychnmiswnekiywkhxngkarcdxndbthiphidphlad ephraabristhcdxndbidrbengincakbrisththicdtngaelakhayhlkthrphyaeknklngthun echnwanichthnkicinwnthi 11 mithunayn 2551 sankngankhnakrrmkarkakbhlkthrphyaelatladhlkthrphyaehngshrthxemrikaidesnxkdephuxaekikhpyhakhwamkhdaeyngkhxngphlpraoychnthiehnidchdrahwangbristhcdxndbaelaphuxxkhlkthrphyaeprrup bristhcdxndbldxndbekhrditkhxng MBS mulkha 1 9 lanlandxllarshrthinrahwangitrmasthi 3 khxngpi 2550 cnthungitrmasthi 2 pi 2551 sungsngphlthaihsthabnthangkarengintxngldmulkha MBS lngipxik sthabnehlanicungtxnghaenginthunephimephuxrksaxtrathun aelahakephimthundwywithixxkhunihmkcathaihrakhahunpccubnldlng hruxsrupidwakarldxndbkhwamnaechuxthuxthaih MBS aelarakhahunldlng noybayrthbal nkwicarnhlaykhnihkhwamehnwaokhrngsrangkdhmayinpccubnnnlasmy prathanathibdi cxrc dbebilyu buchklawemuxeduxnknyayn 2551 wa emuxwikvtikhrngniidrbkaraekikhaelw kthungewlathicatxngprbprungokhrngsrangkdhmaythangkarenginihthnsmykhun esrsthkicinolkyukhkhriststwrrsthi 21 yngkhngthukkhwbkhumodykdhmayyukhstwrrsthi 20 thilasmy emuximnannierakidehnkarthibristhkhyaytwkhnadihymakcnkhwamlmehlwkhxngmnthaihrabbkarenginthngrabbepnxntrayid sankngankhnakrrmkarkakbhlkthrphyaelatladhlkthrphyaehngshrthxemrikayxmrbwakarkhwbkhumtnexngkhxngkhxngwanichthnkicmiswnthaihekidwikvtikhrngnikhun noybaykhxngthnakharklang swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphlkrathbaelachwngkhalngkhxngtladkarenginpi ph s 2550 2551chwngkhalngkhxngphakhkarengin ineduxnsinghakhm 2551 sthabnkarenginthwolkmiyxdkhadthunaelakarldkhathangbychithiekiywkhxngkbsinechuxsbiphrmekinkwa 5 aesnlandxllarshrth kairkhxngthnakharshrth 8 533 aehngthirbrxngodyldlngcak 3 52 hmunlandxllarinitrmasthi 4 pi 2549 ehluxephiyng 646 landxllar initrmasediywknkhxngpi 2550 sungepnphlmacakkarphidndcharahnithiephimkhuncanwnmakaelakhaephuxhnisngsycasuy aelanbepnphlprakxbkarthiaeythisudtngaetpi 2533 tlxdpi 2550 thnakharehlanimikairpraman 1 aesnlandxllar sungldlngpramanrxyla 31 cak 1 45 aesnlandxllarsungepnphlkairthisungepnsthitiinpi 2549 kairinitrmasaerkkhxngpi 2551 khux 1 93 hmunlandxllar sungldlngthungrxyla 46 emuxethiybkbpikxnhna phakhkarenginerimrbruthungphlkhxngwikvtiinkhrngnitngaeteduxnkumphaphnth 2550 dwykarkhadthunthung 1 05 hmunlandxllarkhxngexchexsbisi sungepnprakasaerkkhxngkarkhadthuncaksidioxhruxexmbiox tlxdpi 2550 bristhsinechuxmakkwa 100 aehngthukpid phkkickar hruxthukkhaytx phubriharradbsungkodnphlkrathbdwy echnprathanecahnathibriharkhxngemxrril linchaelasitikruplaxxkhangknimthungspdah sthabnxun ktxngkhwbrwmkickarephuxkhwamxyurxd tladxxntwaelaphlkrathb wikvtisbiphrmthaihekidkhwamtuntrahnkinphakhkarenginaelathaihnklngthunphaknthxnenginxxkcakphnthbtrthiekiywkhxngkbsinechuxthimikhwamesiyngaelahunthimirakhaimaennxn aelanaipekbsasminrupkhxngaethn karekngkairinrakhalwnghnakhxngsinkhatang hlngcaktladxnuphnthlm thaihekidpyhawikvtirakhaxaharolkaela nkekngkairthitxngkarphltxbaethninrayasnthxnengincanwnhlaylanlandxllarcakhunaelaphnthbtr aelanabangswniplngthuninxaharaelawtthudibtang pramanklangpi 2551 dchnitladhlkthrphythisakhythngsam dchniechliyxutsahkrrmdawocns NASDAQ aela S amp P 500 ekhasu inwnthi 15 knyayn 2551 khwamkngwlictang ekiywkbtladkarenginepnsaehtuthaihdchnitkmakthisudtngaetehtukarnwinaskrrminpi 2544 ehtukarnthiepnsaehtuhlkkhuxkarprakaslmlalaykhxngwanichthnkic nxkcakni yngthukbngkhbihrwmkickarkbthnakharaebngkxxfxemrikadwymulkha 5 hmunlandxllar aelakhwamkngwlicekiywkbsphaphkhlxngkhxngthaihmulkhaintladhuntklngmakkwarxyla 60 inwnnn phlkrathbthangxxm wikvtisinechuxsbiphrmkxihekidphlkrathbthanglbkbsphaphesrsthkickhxngshrthxemrikahlayxyang cidiphikhxngshrthxemrikathukpraeminwacahdtwlngrxyla 5 5 txpiinrahwangitrmasthisikhxngpi ph s 2551 naycangelikcangkwa 2 6 lantaaehnngrahwangpi 2551 sungepncanwnthimakthisudtngaetpi ph s 2488 ineduxnknyayn 2551 canwnkhntknganinsakhakarenginsungthung 65 400 khninshrth xtrakarwangnganephimkhuncnthungrxyla 7 2 ineduxnthnwakhm sungepnxtrathisungthisudinrxb 16 pixangxing Episode 06292007 June 29 2007 Transcript June 29 2007 Justin Lahart December 24 2007 Egg Cracks Differ In Housing Finance Shells Wall Street Journal subkhnemux July 13 2008 realtytrac com RealtyTrac Inc 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 12 25 subkhnemux 2008 05 19 Merrill Lynch Posts Fourth Straight Quarterly Loss Bloomberg com 2008 07 17 Yalman Onaran 2008 05 19 Subprime Losses Top 379 Billion on Balance Sheet Marks Table Bloomberg com Bloomberg L P subkhnemux 2008 06 04 FT com Video amp Audio Interactive graphics Credit squeeze explained 2008 subkhnemux 2008 05 19 Joseph Stiglitz 2008 09 17 Commentary How to prevent the next Wall Street crisis CNN President Bush s Address to Nation CENSUS BUREAU REPORTS ON RESIDENTIAL VACANCIES AND HOMEOWNERSHIP PDF U S Census Bureau 26 October 2007 Housing Affordability Hits 14 Year Low 2005 12 23 CSI credit crunch The Economist 2007 10 18 subkhnemux 2008 05 19 America s economy The Economist 2007 11 15 subkhnemux 2008 05 19 Negative Equity The New York Times 2008 02 22 subkhnemux 2008 10 09 New home sales fell by record amount in 2007 Real estate MSNBC com 2008 01 31 subkhnemux 2008 10 09 Housing Meltdown Business Week 2008 01 31 subkhnemux 2008 10 09 Case Shiller Index May 2008 PDF Speculation statistics CNNMoney com 2007 04 30 Speculative flipping khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 07 subkhnemux 2008 10 09 Speculation Risks khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 07 subkhnemux 2008 10 10 www dailyreckoning co uk economic forecasts hyman minsky why is the economist suddenly popular html khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 06 07 subkhnemux 2008 10 10 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 07 11 subkhnemux 2008 10 10 LOUIS UCHITELLE October 26 1996 H P Minsky 77 Economist Who Decoded Lending Trends New York Times subkhnemux 2008 09 26 Warning signs of a bad home loan Page 2 of 2 2008 subkhnemux 2008 05 19 NPR Economists Brace for Worsening Subprime Crisis 2008 subkhnemux 2008 05 19 FRB Speech Bernanke Fostering Sustainable Homeownership 14 March 2008 FRB Speech Bernanke Fostering Sustainable Homeownership Federalreserve gov March 14 2008 subkhnemux October 26 2008 Demyanyk Yuliya Van Hemert Otto 2008 08 19 Understanding the Subprime Mortgage Crisis Working Paper Series Social Science Electronic Publishing subkhnemux 2008 09 18 Ninja loans explode on sub prime frontline Telegraph co uk 2008 09 22 NPR Economists Brace for Worsening Subprime Crisis 2008 subkhnemux 2008 05 19 Black s Law Dictionary 7th ed Greenspan sees signs of credit crisis easing Stocks amp economy MSNBC com 2007 10 02 subkhnemux 2008 10 15 Lewis Holden 18 April 2007 Moral hazard helps shape mortgage mess Bankrate com Credit and blame Economist com 2007 09 06 SEC Proposes Comprehensive Reforms to Bring Increased Transparency to Credit Rating Process 6 Nov 2008 subkhnemux 6 Nov 2008 Fortune Article CNNMoney com President s Address to the Nation September 2008 SEC Concedes Oversight Flaws The New York Times 2008 09 26 The Reckoning The New York Times 2008 10 02 Banks Subprime Losses Top 500 Billion on Writedowns Update1 FDIC Quarterly Profile Q1 08 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 06 07 subkhnemux 2008 10 26 FDIC Profile FY 2007 Pre Adjustment PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 06 07 subkhnemux 2008 10 26 Timeline Sub prime losses BBC NEWS Wall Street Firms Cut 34 000 Jobs Most Since 2001 Dot Com Bust Bloomberg com Prince out as Citigroup CEO more writedowns disclosed Nov 4 2007 2008 subkhnemux 2008 05 19 Similar deals expected to follow Countrywide sale Mark McSherry Reuters 2008 01 11 subkhnemux 2008 05 19 The cost of food Facts and figures BBC News Speculation is pushing up oil prices Mother of all bubbles prepares to burst New Statesman khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 04 21 subkhnemux 2008 04 28 Pain Continues on Wall Street as Lehman Goes Bankrupt and Merrill Sold to BofA ABC News 2008 09 15 More layoffs coming to Wall Street Sep 15 2008 Money cnn com subkhnemux 2008 10 26 Bloomberg Summers Says Economy Entering Difficult Timeaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wikvtisinechuxsbiphrm Financial Crisis Inquiry Commission Homepage Report of Financial Crisis Inquiry Commission January 2011 FCIC Graphics Page Federal Reserve Subprime Mortgage Crisis History Page thnwakhm 9 2015 thi ewyaebkaemchchin Federal Reserve Timeline of the financial crisis Reuters multimedia interactive charting the year of global change PBS Frontline Inside the Meltdown PBS What You Need to Know About the Crisis CNN December 1 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux December 16 2008 subkhnemux May 24 2010 The US sub prime crisis in graphics BBC November 21 2007 CNN Scorecard of Bailout Funds at CNN Bailout Allocations amp Payments The Crisis of Credit Visualized Infographic by Jonathan Jarvis The Economic Crisis Its Origins and the Way Forward Video of lecture given by Marshall Carter chairman of the New York Stock Exchange at Boston University April 15 2009 Home Ownership the Subprime Lending Crisis and Financial Instability by Masum Momaya International Museum of Women The Financial Crisis What Happened and Why Lecture 2 mkrakhm 19 2016 thi ewyaebkaemchchin Video of lecture given in July 2009 by Yaron Brook professor of finance and executive director of the Lectures by to an economics class at March 2012 Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 1 Recorded live on March 20 2012 10 35am MST Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 2 Recorded live on March 22 2012 10 35am MST Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 3 Recorded live on March 27 2012 10 38am MST Chairman Ben Bernanke Lecture Series Part 4 Recorded live on March 29 2012 10 38am MSTbthkhwamesrsthsastr karengin thurkic hrux karkhaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk