วัดมเหยงคณ์ เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ตั้งอยู่ในตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดมเหยงคณ์ | |
---|---|
ที่ตั้ง | ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
ประเภท | วัดราษฎร์ |
นิกาย | มหานิกาย |
เจ้าอาวาส | พระราชภาวนาวชิรญาณ |
ส่วนหนึ่งของ |
วัดมเหยงคณ์ หรือ วัดมหิยงคณ์ มีความหมายถึง ภูเขา หรือ เนินดิน คำว่า มเหยงคน์เป็นชื่อของพระธาตุที่มีความสำคัญของศรีลังกา เรียกว่า มหิยังคณ์เจดีย์ เดิมเป็นพระอารามหลวงฝ่ายวิปัสสนาธุระ
ประวัติ
ตามพงศาวดารเหนือ มเหสีของพระเจ้าธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ 8 ของ เมืองอโยธยา ทรงเป็นผู้สร้างวัดมเหยงคณ์ แต่กระนั้นตามพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ กล่าวว่า ปีศักราชที่ 800 มะเมียศก หรือ ปี พ.ศ. 1981 สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ทรงสร้างวัดมเหยงคณ์ วัดมีความเจริญรุ่งเรืองสืบมานานหลายร้อยปี กระทั่งมารกร้างและต้องทำการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ และรุ่งเรืองสืบมาจนถึงวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ได้ถูกทำลายและทิ้งร้างอีกครั้ง จนเมื่อ พ.ศ. 2527 พระภาวนาเขมคุณ (หลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี) เจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์ ได้จัดตั้งสำนักกรรมฐานขึ้นที่วัดมเหยงคณ์ เพื่ออบรมวิปัสสนาให้กับบุคคลทั่วไป ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนวัดมเหยงคณ์เป็นโบราณสถานของชาติ ตั้งแต่วันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2484 กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2544
เสนาสนะ
ส่วนอุโบสถที่เป็นโบราณสถาน ตั้งอยู่บนฐานสูง 2 ชั้น ความกว้าง 18 เมตร ความยาว 36 เมตร มีประตูทางเข้าด้านตะวันออก 3 ช่อง ด้านตะวันตก 2 ช่อง มีเจดีย์ฐานช้างล้อม อยู่ด้านหลังอุโบสถทางทิศตะวันตก พ้นเขตกำแพงแก้ว ลักษณะขององค์เจดีย์เป็นรูปแบบของลังกาเหนือ เหมือนเจดีย์ช้างล้อมที่สุโขทัย ภายในอุโบสถมี หลวงพ่อหินทรายศักดิ์สิทธิ พระประธานในอุโบสถ ที่ยังคงปรากฏให้เห็นคือ หักล้มลงเป็นท่อน ลานดินรูปเกือบจะสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่เรียกว่า โคกโพธิ์ ด้านทิศตะวันออก ของเขตพุทธาวาส กว้าง 50 เมตร ยาว 58 เมตร สันนิษฐานว่า เคยเป็นพลับพลาที่ประทับของพระเจ้าหงสาวดี พระเจ้าตะเบ็งชเวตี้
ระเบียงภาพ
- ฉนวนทางเดิน
- อุโบสถ
- ภายในอุโบสถ
- หลวงพ่อหินทรายศักดิ์สิทธิ์ พระประธานในอุโบสถ
- เจดีย์ช้างล้อม
- ใบเสมา
- ซุ้มประตูเข้าฉนวนทางเดิน
อ้างอิง
- พงศาวดารอโยธยาศรีรามเทพนคร ฉบับ มานิต วัลลิโภดม : อโยธยา เก่าแก่กว่าสุโขทัย ต้นกำเนิดอยุธยา ต้นแบบรัตนโกสินทร์ , นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม เผยแพร่ในระบบออนไลน์ครั้งแรกเมื่อ 21 เมษายน 2566, https://www.silpa-mag.com/history/article_106970
- "วัดมเหยงคณ์". การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.).
- (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-05-13. สืบค้นเมื่อ 2021-05-13.
- "'วัดมเหยงคณ์'เพชรงามเมืองอโยธยา ที่กลับมามีชีวิตอีก". เดลินิวส์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wdmehyngkhn epnwdrasdrsngkdkhnasngkhmhanikay thitngxyuintablhntra xaephxphrankhrsrixyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthyawdmehyngkhnthitngtablhntra xaephxphrankhrsrixyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthyapraephthwdrasdrnikaymhanikayecaxawasphrarachphawnawchiryanswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasna wdmehyngkhn hrux wdmhiyngkhn mikhwamhmaythung phuekha hrux enindin khawa mehyngkhnepnchuxkhxngphrathatuthimikhwamsakhykhxngsrilngka eriykwa mhiyngkhnecdiy edimepnphraxaramhlwngfaywipssnathuraprawtitamphngsawdarehnux mehsikhxngphraecathrrmracha kstriyxngkhthi 8 khxng emuxngxoythya thrngepnphusrangwdmehyngkhn aetkranntamphrarachphngsawdarkrungeka chbbhlwngpraesrith klawwa piskrachthi 800 maemiysk hrux pi ph s 1981 smedcphrabrmrachathirachthi 2 thrngsrangwdmehyngkhn wdmikhwamecriyrungeruxngsubmananhlayrxypi krathngmarkrangaelatxngthakarptisngkhrnkhrngihy insmyphraecathaysra aelarungeruxngsubmacnthungwnthi 7 emsayn ph s 2310 idthukthalayaelathingrangxikkhrng cnemux ph s 2527 phraphawnaekhmkhun hlwngphxsurskdi ekhmrngsi ecaxawaswdmehyngkhn idcdtngsankkrrmthankhunthiwdmehyngkhn ephuxxbrmwipssnaihkbbukhkhlthwip pccubnkrmsilpakridkhunthaebiynwdmehyngkhnepnobransthankhxngchati tngaetwnthi 8 minakhm ph s 2484 krathrwngsuksathikarprakastngepnwdemuxwnthi 3 thnwakhm ph s 2544esnasnaswnxuobsththiepnobransthan tngxyubnthansung 2 chn khwamkwang 18 emtr khwamyaw 36 emtr mipratuthangekhadantawnxxk 3 chxng dantawntk 2 chxng miecdiythanchanglxm xyudanhlngxuobsththangthistawntk phnekhtkaaephngaekw lksnakhxngxngkhecdiyepnrupaebbkhxnglngkaehnux ehmuxnecdiychanglxmthisuokhthy phayinxuobsthmi hlwngphxhinthrayskdisiththi phraprathaninxuobsth thiyngkhngpraktihehnkhux hklmlngepnthxn landinrupekuxbcasiehliymcturs thieriykwa okhkophthi danthistawnxxk khxngekhtphuththawas kwang 50 emtr yaw 58 emtr snnisthanwa ekhyepnphlbphlathiprathbkhxngphraecahngsawdi phraecataebngchewtiraebiyngphaphchnwnthangedin xuobsth phayinxuobsth hlwngphxhinthrayskdisiththi phraprathaninxuobsth ecdiychanglxm ibesma sumpratuekhachnwnthangedinxangxingphngsawdarxoythyasriramethphnkhr chbb manit wlliophdm xoythya ekaaekkwasuokhthy tnkaenidxyuthya tnaebbrtnoksinthr nitysar silpwthnthrrm ephyaephrinrabbxxnilnkhrngaerkemux 21 emsayn 2566 https www silpa mag com history article 106970 wdmehyngkhn karthxngethiywaehngpraethsithy ththth PDF rachkiccanuebksa khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2021 05 13 subkhnemux 2021 05 13 wdmehyngkhn ephchrngamemuxngxoythya thiklbmamichiwitxik edliniws