วัดพระธาตุดอยคำ เป็นวัดสำคัญในจังหวัดเชียงใหม่ อายุเก่าแก่กว่า 1,300 ปี ตั้งอยู่บริเวณดอยคำ ด้านหลังอุทยานหลวงราชพฤกษ์ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 10 กิโลเมตร วัดพระธาตุดอยคำมีความสูงจากระดับที่ราบเชียงใหม่ราว 140 เมตร และมีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 465 เมตร วัดพระธาตุดอยคำมีลานชมวิวที่สามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์รอบเมืองเชียงใหม่ และยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่าห้าร้อยปี
วัดพระธาตุดอยคำ | |
---|---|
ที่ตั้ง | วัดพระธาตุดอยคำ หมู่ 3 เมืองแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50100 |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 1230 |
พระประธาน | พระพุทธนพีสีพิงครัตน์ |
พระพุทธรูปสำคัญ | พระเจ้าทันใจ |
เจ้าอาวาส | พระครูสุนทรเจติยารักษ์ (ครูบาพิณ ) |
เวลาทำการ | 6.00 น. - 18.00 น. |
จุดสนใจ | จุดชมวิว |
ส่วนหนึ่งของ |
ประวัติ
วัดพระธาตุดอยคำสร้างในปี พ.ศ. 1230 รัชสมัยพระนางจามเทวีกษัตริย์แห่งหริภุญชัย โดยพระโอรสทั้ง 2 เป็นผู้สร้าง ประกอบด้วยเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ศาลาการเปรียญกุฏิสงฆ์ และพระพุทธรูปปูนปั้น เดิมชื่อวัดสุวรรณบรรพต แต่ชาวบ้านเรียกว่า "วัดดอยคำ"
พ.ศ. 2509 ขณะนั้นวัดดอยคำเป็นวัดร้าง ต่อมากรุแตกชาวบ้านพบโบราณวัตถุหลายชิ้น เช่น พระรอดหลวง พระหินทรายปิดทององค์ใหญ่ พระสามหมอ (เนื้อดิน) ซึ่งนำมาประดิษฐานไว้ ณ วัดพระธาตุดอยคำ พระธาตุดอยคำนอกจากจะเป็นที่สักการบูชาของคนท้องถิ่นแล้ว ยังเป็นสัญลักษณ์อีกแห่งหนึ่งของการบินไทยที่ใช้กำหนดพื้นที่ทางสายตา ก่อนที่จะนำเครื่องบินลงจอดที่สนามบินเชียงใหม่
ประจำทุกปี โดยยึดถือเอาวันแรม 7 ค่ำ 8 ค่ำ หลังวันวิสาขบูชาทุกปี เป็นวันสรงน้ำพระธาตุ ซึ่งถือว่าเป็นวันถวายพระเพลิงพระพุทธศรีระของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (หลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้ 8 วัน) ถือเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่ง ตรงกับวันแรม 8 ค่ำ เดือนวิสาขะ (เดือน 6 ของไทย) ทางวัดพระธาตุดอยคำ จึงยึดถือเอาวันนี้จัดงาน และพิธีสรงน้ำเพื่อรำลึกนึกถึง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ที่ท่านได้สร้างเผยแพร่พระพุทธศาสนาเอาไว้ครับ
ตำนาน
เทือกเขาถนนธงชัย ด้านทิศตะวันตกบนเทือกเขาเหล่านั้นจะเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระเจดีย์สำคัญและเก่าแก่ คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่ถึง 2 องค์พระเจดีย์ แต่ละแห่งถูกสถาปนาขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ในสมัยหริภุญชัยและล้านนาตามลำดับ หนึ่งในนั้นคือพระธาตุดอยคำ อยู่บนยอดเขาเล็กๆ ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของตัวเมืองเชียงใหม่ เรียกว่า “พระธาตุดอยคำ” เคยเป็นที่อยู่อาศัยของยักษ์สองผัวเมีย ชื่อ จิคำและตาเขียวมาก่อน ซึ่งต่อมาชาวบ้านได้เรียกยักษ์ทั้งสองนี้ว่า “ปู่แสะย่าแสะ” ปู่แสะย่าแสะมีลูก 1 คน ชื่อว่า “สุเทวฤๅษี” เหตุที่ได้ชื่อว่าดอยคำ เนื่องจากศุภนิมิตที่ยักษ์ทั้งสองได้รับพระเกศาธาตุจากพระพุทธเจ้า เกิดฝนตกหนักหลายวัน ทำให้น้ำฝนเซาะและพัดพาแร่ทองคำบนไหล่เขา และลำห้วยไหลลงสู่ปากถ้ำเป็นจำนวนมาก จึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า “ดอยคำ”
จากตำนานหลายฉบับได้กล่าวว่า เทวดาได้นำพระเกศาธาตุที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแก่ปู่แสะและย่าแสะ นำขึ้นมาฝังและก่อสถูปไว้บนดอยแห่งนี้ และต่อมาในปี พ.ศ. 1230 เจ้ามหันตยศและเจ้าอนันตยศ สองพระโอรสแฝดของพระนางจามเทวีแห่งหริภุญชัยได้ขึ้นมาก่อเจดีย์ครอบพระสถูปเกศานั้นไว้
อ้างอิง
1.18°45′35″N 98°55′5″E / 18.75972°N 98.91806°E ข้อมูลจากตำนานวัดพระธาตุดอยคำ ฉบับวัดพระธาตุดอยคำ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wdphrathatudxykha epnwdsakhyincnghwdechiyngihm xayuekaaekkwa 1 300 pi tngxyubriewndxykha danhlngxuthyanhlwngrachphvks hangcaktwemuxngpraman 10 kiolemtr wdphrathatudxykhamikhwamsungcakradbthirabechiyngihmraw 140 emtr aelamikhwamsungcakradbnathaelpanklang 465 emtr wdphrathatudxykhamilanchmwiwthisamarthmxngehnwiwthiwthsnrxbemuxngechiyngihm aelayngepnthipradisthanphraecathnicsungmixayuekaaekkwaharxypiwdphrathatudxykhathitngwdphrathatudxykha hmu 3 emuxngaemehiya xaephxemuxng cnghwdechiyngihm 50100kxtngph s 1230phraprathanphraphuththnphisiphingkhrtnphraphuththrupsakhyphraecathnicecaxawasphrakhrusunthrectiyarks khrubaphin ewlathakar6 00 n 18 00 n cudsniccudchmwiwswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprawtiwdphrathatudxykhasranginpi ph s 1230 rchsmyphranangcamethwikstriyaehnghriphuychy odyphraoxrsthng 2 epnphusrang prakxbdwyecdiybrrcuphrabrmsaririkthatukhxngphraphuththeca salakarepriyykutisngkh aelaphraphuththruppunpn edimchuxwdsuwrrnbrrpht aetchawbaneriykwa wddxykha ph s 2509 khnannwddxykhaepnwdrang txmakruaetkchawbanphbobranwtthuhlaychin echn phrarxdhlwng phrahinthraypidthxngxngkhihy phrasamhmx enuxdin sungnamapradisthaniw n wdphrathatudxykha phrathatudxykhanxkcakcaepnthiskkarbuchakhxngkhnthxngthinaelw yngepnsylksnxikaehnghnungkhxngkarbinithythiichkahndphunthithangsayta kxnthicanaekhruxngbinlngcxdthisnambinechiyngihm pracathukpi odyyudthuxexawnaerm 7 kha 8 kha hlngwnwisakhbuchathukpi epnwnsrngnaphrathatu sungthuxwaepnwnthwayphraephlingphraphuththsrirakhxng smedcphrasmmasmphuththeca hlngesdcdbkhnthpriniphphanid 8 wn thuxepnwnsakhyinphraphuththsasnawnhnung trngkbwnaerm 8 kha eduxnwisakha eduxn 6 khxngithy thangwdphrathatudxykha cungyudthuxexawnnicdngan aelaphithisrngnaephuxraluknukthung phuththkhun thrrmkhun sngkhkhun thithanidsrangephyaephrphraphuththsasnaexaiwkhrbtananethuxkekhathnnthngchy danthistawntkbnethuxkekhaehlanncaepnthipradisthankhxngxngkhphraecdiysakhyaelaekaaek khubankhuemuxngechiyngihmthung 2 xngkhphraecdiy aetlaaehngthuksthapnakhunodyphramhakstriyinsmyhriphuychyaelalannatamladb hnunginnnkhuxphrathatudxykha xyubnyxdekhaelk thangthistawntkechiyngitkhxngtwemuxngechiyngihm eriykwa phrathatudxykha ekhyepnthixyuxasykhxngykssxngphwemiy chux cikhaaelataekhiywmakxn sungtxmachawbanideriykyksthngsxngniwa puaesayaaesa puaesayaaesamiluk 1 khn chuxwa suethwvisi ehtuthiidchuxwadxykha enuxngcaksuphnimitthiyksthngsxngidrbphraeksathatucakphraphuththeca ekidfntkhnkhlaywn thaihnafnesaaaelaphdphaaerthxngkhabnihlekha aelalahwyihllngsupakthaepncanwnmak cungeriykphuekhalukniwa dxykha caktananhlaychbbidklawwa ethwdaidnaphraeksathatuthiphraphuththecaidprathanaekpuaesaaelayaaesa nakhunmafngaelakxsthupiwbndxyaehngni aelatxmainpi ph s 1230 ecamhntysaelaecaxnntys sxngphraoxrsaefdkhxngphranangcamethwiaehnghriphuychyidkhunmakxecdiykhrxbphrasthupeksanniwxangxing1 18 45 35 N 98 55 5 E 18 75972 N 98 91806 E 18 75972 98 91806 khxmulcaktananwdphrathatudxykha chbbwdphrathatudxykha