ศาสตราจารย์ วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด (15 กุมภาพันธ์ 2496 - ) เกิดที่อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และพันธุวิศวกรรม เจ้าของรางวัล สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ประชุมสภาประธานอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ (ปอมท.) ประจำปี พ.ศ. 2549 เป็นบุคคลสำคัญในการก่อให้เกิดศูนย์ความร่วมมือการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งมหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยโอซากะ และศูนย์ความร่วมมือการวิจัยสำหรับประเทศในตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือด้านการวิจัย ใช้เครื่องมือวิจัยที่ทันสมัยร่วมกัน รวมทั้งจัดฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืน ให้แก่นักวิจัยรุ่นเยาว์ระดับหลังปริญญาจากประเทศต่าง ๆ เช่น บังคลาเทศ กัมพูชา อินเดีย มาเลเซีย พม่า ลาว ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และไทย โดยการสนับสนุนของยูเนสโก ซึ่งทำให้เกิดผลดีทั้งด้านการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และความร่วมมือด้านการวิจัยของภูมิภาคในแถบนี้ ปัจจุบันได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการอาหาร
ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา โรงเรียนวัดทรงคะนองใน อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
- มัธยมศึกษา โรงเรียนวัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
- มัธยมศึกษาตอนปลาย - โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ กรุงเทพมหานคร
- พ.ศ. 2514-2518 - วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2518-2521 - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2521-2522 - ได้รับทุน UNESCO ไปทำวิจัย 1 ปี ในสาขา Applied microbiology ที่มหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
- พ.ศ. 2523-2527 - ได้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น ไปศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในสาขา Fermentation Technology ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น (ในพิธีรับปริญญาได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทนนักศึกษา ขึ้นรับปริญญาจากอธิการบดีของมหาวิทยาลัยโอซากะ ซึ่งถือเป็นการให้เกียรติอย่างสูง โดยเฉพาะเป็นนักศึกษาต่างชาติ ทำให้ถูกสัมภาษณ์ลงข่าวในหนังสือพิมพ์หลายฉบับ )
- พ.ศ. 2533-2534 - Postdoctoral Fellow ทางด้าน Plant Molecular Biology จาก The Salk Institute เมืองซานดิเอโก ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการทำงาน
ตำแหน่งวิชาการ
- พ.ศ. 2527 - ได้รับการบรรจุเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2529 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2533 - รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2541 – ศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting Professor) มหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
- พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน - ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549–ปัจจุบัน - Collaborative Professor มหาวิทยาลัยโอซากะ ประเทศญี่ปุ่น
ตำแหน่งบริหาร
- พ.ศ. 2537-2541 - หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2542–2545 - รองคณบดี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2545–ปัจจุบัน - หัวหน้าหน่วยความร่วมมือการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งมหาวิทยาลัยมหิดลและ
มหาวิทยาลัยโอซากะ (MU-OU:CRC) ซึ่งเป็นหน่วยงานแรกที่มหาวิทยาลัยโอซากะได้มาร่วมตั้งสำนักงานดำเนินงาน นอกประเทศญี่ปุ่น
ตำแหน่งในสมาคมและองค์กรต่างๆ
- พ.ศ. 2538–2541 - คณะทำงานโครงการกลุ่มศึกษาวิจัยระดับปริญญาเอกด้านเทคโนโลยีชีวภาพและชีววิทยาโมเลกุล สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
- พ.ศ. 2543–ปัจจุบัน - ผู้ประสานงานสถาบันร่วม โครงการพัฒนาบัณฑิตศึกษาและการวิจัยสาขาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร
- พ.ศ. 2548–ปัจจุบัน - ประธานคณะอนุกรรมการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพด้านจุลินทรีย์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- พ.ศ. 2548–ปัจจุบัน - อนุกรรมการเทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
- พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน - กองบรรณาธิการวารสาร Journal of Bioscience and Bioengineering ของประเทศญี่ปุ่น
เกียรติคุณและรางวัล
- พ.ศ. 2521–2522 - UNESCO Fellowship
- พ.ศ. 2523–2527 - Monbusho Scholarship
- พ.ศ. 2533–2534 - Rockefeller Fellowship
- พ.ศ. 2533 - รางวัลนักวิจัยดีเด่นสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ กองทุนทะกูชิ (Taguchi Prize จากมูลนิธิส่งเสริมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย
- พ.ศ. 2535 - รางวัลนักวิจัยสตรีรุ่นเยาว์ดีเด่นทางด้านข้าวของเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (IRRI Award) จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ ประเทศฟิลิปปินส์
- พ.ศ. 2548 - รางวัลอาจารย์ตัวอย่าง จากสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549 - ศิษย์เก่าดีเด่นบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2549 - อาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของที่ประชุมสภาประธานอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
ผลงานด้านการวิจัย
ศาสตราจารย์ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด ได้ทำงานวิจัยด้านพันธุวิศวกรรมมาแล้วเป็นเวลากว่า 25 ปี ถือว่าเป็นนักวิชาการในระยะบุกเบิกคนหนึ่งของประเทศไทยในสาขาดังกล่าว แม้แต่ในช่วงที่ศึกษาในระดับปริญญาเอก ก็เป็นนักศึกษาคนที่สองของมหาวิทยาลัยโอซากะ ที่ศึกษางานด้านพันธุวิศวกรรมโดยได้โคลนยีนจากเชื้อที่แยกจากดิน โดยเฉพาะเป็นยีน xylanase ยีนแรกที่โคลนได้ในโลก ซึ่งในสมัยยี่สิบกว่าปีก่อนนั้นเป็นที่ตื่นเต้นมาก และได้จดสิทธิบัตรกับบริษัทในประเทศญี่ปุ่น เมื่อกลับมาทำงานใหม่ ๆ เป็นช่วงที่ประเทศชาติมีวิกฤติเศรษฐกิจครั้งแรก ทำให้ขาดแคลนงบประมาณและการวิจัยในสาขาพันธุวิศวกรรม และดำเนินงานได้ค่อนข้างล่าช้าเป็นอย่างมาก เนื่องจากต้องใช้เครื่องมือและสารเคมีต่าง ๆ หลายอย่างที่แตกต่างจากที่มีอยู่เดิม แต่ก็ไม่ได้ย่อท้อ ได้เริ่มศึกษาการโคลนยีนและการแสดงออกของยีนจากเชื้อ Bacillus อาทิ chitinase ยีนทีสร้าง crystal toxin ฆ่าหนอนแมลงศัตรูพืช ซึ่งการศึกษาวิจัยจะเน้นหนักไปทางด้านการควบคุม การแสดงออกของยีนและการทำงานของยีนทุกระดับของการควบคุม รวมทั้งการทำงานของโปรตีน และการสร้างยีนผสม (hybrid gene) เพื่อให้ยีนเปลี่ยนระยะการแสดงออกจากระยะเซลล์กำลังเจริญเติบโต ไปแสดงออกในระยะเซลล์สร้างสปอร์ เป็นต้น งานด้านการใช้เอนไซม์จากเชื้อที่แยกได้ที่สามารถเปลี่ยนน้ำตาลซูโครสไปเป็นน้ำตาลพาลาติโนส ซึ่งเป็นน้ำตาลที่ไม่ทำให้ฟันผุ ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรของเชื้อและเอนไซม์ รวมทั้งยีนที่เกี่ยวข้องในประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังได้พัฒนาชุด PCR Kit เพื่อตรวจหา Salmonella และตรวจหา Enterotoxin genes ใน Bacillus cereus ซึ่งสามารถใช้เป็นวิธีการตรวจการปนเปื้อนของเชื้อในอาหารได้รวดเร็วขึ้น
ศาสตราจารย์ ดร.วัฒนาลัย ปานบ้านเกร็ด มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ จำนวน 47 เรื่อง เป็นบรรณาธิการจัดทำหนังสือคู่มือปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ "เทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์และพันธุวิศวกรรม" ซึ่งเป็นคู่มือปฏิบัติการที่ให้ข้อมูลเทคนิคต่าง ๆ ด้านพันธุวิศวกรรม อย่างละเอียดและได้รับความนิยมสูงมาก เป็นอาจารย์ที่เอาใจใส่ดูแลนักศึกษาในทุกด้าน ทั้งด้านวิชาการ การวิจัย ทัศนคติและความรู้ตัวในด้านต่างๆ เนื่องจากในทางส่วนตัวจะเป็นผู้สนใจในศาสตร์หลายสาขา เช่น ประวัติศาสตร์ การเมือง การเกษตร การทำอาหาร และความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ลูกศิษย์ของอาจารย์ที่มาทำวิจัยด้วย จะถืออาจารย์เป็นเอนไซโคลปีเดียที่จะสามารถสอบถามได้ตลอดเวลา สำหรับเทคนิคทางด้านวิจัย จะมีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ที่คิดค้นขึ้นเอง มาแนะนำนักศึกษาเพื่อช่วยให้งานวิจัยที่มีความละเอียดอ่อนของพันธุวิศวกรรมได้ผลดีตามต้องการ ช่วยทำให้งานวิจัยผ่านไปได้ดี ศาสตราจารย์ ดร.วัฒนาลัย มีลูกศิษย์ที่มาทำวิจัยโดยตรง ในระดับปริญญาตรีไม่ต่ำกว่า 50 คน ระดับปริญญาโทมากกว่า 30 คน และระดับปริญญาเอก 12 คน วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาที่อยู่ในความดูแลของ ศาสตราจารย์ ดร. วัฒนาลัย สามารถคว้ารางวัลและการเชิดชูเกียรติมากกว่า 3 เรื่อง นอกจากนี้ยังมีส่วนร่วมโดยเป็นคณะกรรมการควบคุมและสอบวิทยานิพนธ์ ในระดับปริญญาโทและเอกทั้งในและนอกมหาวิทยาลัยมหิดลอีกจำนวนมาก จนกระทั่งได้รับรางวัลอาจารย์ตัวอย่าง จากสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2548 และรางวัลอาจารย์ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของที่ประชุมสภาประธานอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2549
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2552 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2547 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2552 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/326/T_0062.PDF
- การประชุมสัมมนาทางวิชาการประจำปี พ.ศ. 2549 ของที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เรื่อง "ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย : วิกฤต หรือ โอกาส" ระหว่างวันที่ 4-5 กันยายน 2549 ณ เดอะไทด์ รีสอร์ท จังหวัดชลบุรี
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๒ 2011-10-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ข หน้า ๘, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย 2007-01-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๓๑, ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๕๒, เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๖ ข หน้า ๓๓๘, ๖ มิถุนายน ๒๕๕๓
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracary wthnaly panbanekrd 15 kumphaphnth 2496 ekidthixaephxsamphran cnghwdnkhrpthm nkwithyasastrchawithy phuechiywchaydanethkhonolyichiwphaph aelaphnthuwiswkrrm ecakhxngrangwl sakhawithyasastraelaethkhonolyi thiprachumsphaprathanxacarymhawithyalyaehngpraeths pxmth pracapi ph s 2549 epnbukhkhlsakhyinkarkxihekidsunykhwamrwmmuxkarwicythangdanwithyasastrchiwphaphaelaethkhonolyichiwphaph aehngmhawithyalymhidl aelamhawithyalyoxsaka aelasunykhwamrwmmuxkarwicysahrbpraethsintawnxxkechiyngit ephuxsngesrimihekidkhwamrwmmuxdankarwicy ichekhruxngmuxwicythithnsmyrwmkn rwmthngcdfukxbrmdankarbriharcdkaraelakarichpraoychncakthrphyakrchiwphaphxyangyngyun ihaeknkwicyruneyawradbhlngpriyyacakpraethstang echn bngkhlaeths kmphucha xinediy maelesiy phma law filippins yipun aelaithy odykarsnbsnunkhxngyuensok sungthaihekidphldithngdankaraelkepliynwthnthrrm aelakhwamrwmmuxdankarwicykhxngphumiphakhinaethbni pccubnidrbaetngtngepnkrrmkarphuthrngkhunwuthiinkhnakrrmkarxaharifl Wattanalai jpgsastracary dr wthnaly panbanekrdprawtikarsuksaprathmsuksa orngeriynwdthrngkhanxngin xaephxsamphran cnghwdnkhrpthm mthymsuksa orngeriynwdirkhing xaephxsamphran cnghwdnkhrpthm mthymsuksatxnplay orngeriynsaynaphung inphraxupthmph krungethphmhankhr ph s 2514 2518 withyasastrbnthit sakhachiwwithya mhawithyalymhidl ph s 2518 2521 withyasastrmhabnthit sakhaculchiwwithya mhawithyalymhidl ph s 2521 2522 idrbthun UNESCO ipthawicy 1 pi insakha Applied microbiology thimhawithyalyoxsaka praethsyipun ph s 2523 2527 idrbthunrthbalyipun ipsuksatxradbpriyyaexkinsakha Fermentation Technology thikhnawiswkrrmsastr mhawithyalyoxsaka praethsyipun inphithirbpriyyaidrbkarkhdeluxkihepntwaethnnksuksa khunrbpriyyacakxthikarbdikhxngmhawithyalyoxsaka sungthuxepnkarihekiyrtixyangsung odyechphaaepnnksuksatangchati thaihthuksmphasnlngkhawinhnngsuxphimphhlaychbb ph s 2533 2534 Postdoctoral Fellow thangdan Plant Molecular Biology cak The Salk Institute emuxngsandiexok praethsshrthxemrikaprawtikarthangantaaehnngwichakar ph s 2527 idrbkarbrrcuepnxacarypracaphakhwichaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2529 phuchwysastracary phakhwichaculchiwwithya khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2533 rxngsastracary phakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2541 sastracaryxakhntuka Visiting Professor mhawithyalyoxsaka praethsyipun ph s 2545 pccubn darngtaaehnngsastracary pracaphakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2549 pccubn Collaborative Professor mhawithyalyoxsaka praethsyipun taaehnngbrihar ph s 2537 2541 hwhnaphakhwichaethkhonolyichiwphaph khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2542 2545 rxngkhnbdi bnthitwithyaly mhawithyalymhidl ph s 2545 pccubn hwhnahnwykhwamrwmmuxkarwicydanwithyasastrchiwphaphaelaethkhonolyichiwphaph aehngmhawithyalymhidlaela mhawithyalyoxsaka MU OU CRC sungepnhnwynganaerkthimhawithyalyoxsakaidmarwmtngsankngandaeninngan nxkpraethsyipun taaehnnginsmakhmaelaxngkhkrtang ph s 2538 2541 khnathanganokhrngkarklumsuksawicyradbpriyyaexkdanethkhonolyichiwphaphaelachiwwithyaomelkul sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati swthch ph s 2543 pccubn phuprasanngansthabnrwm okhrngkarphthnabnthitsuksaaelakarwicysakhaethkhonolyichiwphaphekstr ph s 2548 pccubn prathankhnaxnukrrmkarephuxkhwamplxdphythangchiwphaphdanculinthriy sunyphnthuwiswkrrmaelaethkhonolyichiwphaphaehngchati ph s 2548 pccubn xnukrrmkarethkhonolyichiwphaphdankaraephthy sunyphnthuwiswkrrmaelaethkhonolyichiwphaphaehngchati ph s 2550 pccubn kxngbrrnathikarwarsar Journal of Bioscience and Bioengineering khxngpraethsyipunekiyrtikhunaelarangwlph s 2521 2522 UNESCO Fellowship ph s 2523 2527 Monbusho Scholarship ph s 2533 2534 Rockefeller Fellowship ph s 2533 rangwlnkwicydiednsakhaethkhonolyichiwphaph kxngthunthakuchi Taguchi Prize cakmulnithisngesrimethkhonolyichiwphaphaehngpraethsithy ph s 2535 rangwlnkwicystriruneyawdiednthangdankhawkhxngexesiytawnxxkechiyngit IRRI Award caksthabnwicykhawnanachati praethsfilippins ph s 2548 rangwlxacarytwxyang caksphakhnacary mhawithyalymhidl ph s 2549 sisyekadiednbnthitwithyaly mhawithyalymhidl ph s 2549 xacarydiednaehngchati sakhawithyasastraelaethkhonolyi khxngthiprachumsphaprathanxacarymhawithyalyaehngpraethsithyphlngandankarwicysastracary dr wthnaly panbanekrd idthanganwicydanphnthuwiswkrrmmaaelwepnewlakwa 25 pi thuxwaepnnkwichakarinrayabukebikkhnhnungkhxngpraethsithyinsakhadngklaw aemaetinchwngthisuksainradbpriyyaexk kepnnksuksakhnthisxngkhxngmhawithyalyoxsaka thisuksangandanphnthuwiswkrrmodyidokhlnyincakechuxthiaeykcakdin odyechphaaepnyin xylanase yinaerkthiokhlnidinolk sunginsmyyisibkwapikxnnnepnthitunetnmak aelaidcdsiththibtrkbbristhinpraethsyipun emuxklbmathanganihm epnchwngthipraethschatimiwikvtiesrsthkickhrngaerk thaihkhadaekhlnngbpramanaelakarwicyinsakhaphnthuwiswkrrm aeladaeninnganidkhxnkhanglachaepnxyangmak enuxngcaktxngichekhruxngmuxaelasarekhmitang hlayxyangthiaetktangcakthimixyuedim aetkimidyxthx iderimsuksakarokhlnyinaelakaraesdngxxkkhxngyincakechux Bacillus xathi chitinase yinthisrang crystal toxin khahnxnaemlngstruphuch sungkarsuksawicycaennhnkipthangdankarkhwbkhum karaesdngxxkkhxngyinaelakarthangankhxngyinthukradbkhxngkarkhwbkhum rwmthngkarthangankhxngoprtin aelakarsrangyinphsm hybrid gene ephuxihyinepliynrayakaraesdngxxkcakrayaesllkalngecriyetibot ipaesdngxxkinrayaesllsrangspxr epntn ngandankarichexnismcakechuxthiaeykidthisamarthepliynnatalsuokhrsipepnnatalphalations sungepnnatalthiimthaihfnphu khnanikalngxyuinrahwangkaryuncdsiththibtrkhxngechuxaelaexnism rwmthngyinthiekiywkhxnginpraethsyipun nxkcakniyngidphthnachud PCR Kit ephuxtrwcha Salmonella aelatrwcha Enterotoxin genes in Bacillus cereus sungsamarthichepnwithikartrwckarpnepuxnkhxngechuxinxaharidrwderwkhun sastracary dr wthnaly panbanekrd miphlnganwicythiidrbkartiphimphephyaephrinwarsarwichakarradbnanachati canwn 47 eruxng epnbrrnathikarcdthahnngsuxkhumuxptibtikarwicyethkhonolyichiwphaph ethkhnikhthangxnuphnthusastraelaphnthuwiswkrrm sungepnkhumuxptibtikarthiihkhxmulethkhnikhtang danphnthuwiswkrrm xyanglaexiydaelaidrbkhwamniymsungmak epnxacarythiexaicisduaelnksuksainthukdan thngdanwichakar karwicy thsnkhtiaelakhwamrutwindantang enuxngcakinthangswntwcaepnphusnicinsastrhlaysakha echn prawtisastr karemuxng karekstr karthaxahar aelakhwamruineruxngtang luksisykhxngxacarythimathawicydwy cathuxxacaryepnexnisokhlpiediythicasamarthsxbthamidtlxdewla sahrbethkhnikhthangdanwicy camiethkhnikhelk nxy thikhidkhnkhunexng maaenananksuksaephuxchwyihnganwicythimikhwamlaexiydxxnkhxngphnthuwiswkrrmidphlditamtxngkar chwythaihnganwicyphanipiddi sastracary dr wthnaly miluksisythimathawicyodytrng inradbpriyyatriimtakwa 50 khn radbpriyyaothmakkwa 30 khn aelaradbpriyyaexk 12 khn withyaniphnthkhxngnksuksainradbbnthitsuksathixyuinkhwamduaelkhxng sastracary dr wthnaly samarthkhwarangwlaelakarechidchuekiyrtimakkwa 3 eruxng nxkcakniyngmiswnrwmodyepnkhnakrrmkarkhwbkhumaelasxbwithyaniphnth inradbpriyyaothaelaexkthnginaelanxkmhawithyalymhidlxikcanwnmak cnkrathngidrbrangwlxacarytwxyang caksphakhnacary mhawithyalymhidl inpi ph s 2548 aelarangwlxacarydiednaehngchati sakhawithyasastraelaethkhonolyi khxngthiprachumsphaprathanxacarymhawithyalyaehngpraethsithy inpi ph s 2549ekhruxngrachxisriyaphrnph s 2552 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2547 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2552 ehriyyckrphrrdimala r c ph xangxinghttp www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2561 E 326 T 0062 PDF karprachumsmmnathangwichakarpracapi ph s 2549 khxngthiprachumprathansphaxacarymhawithyalyaehngpraethsithy pxmth eruxng yuththsastrxudmsuksaithy wikvt hrux oxkas rahwangwnthi 4 5 knyayn 2549 n edxaithd risxrth cnghwdchlburi rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2552 2011 10 11 thi ewyaebkaemchchin elm 126 txnthi 16 kh hna 8 4 thnwakhm 2552 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy 2007 01 07 thi ewyaebkaemchchin elm 121 txnthi 23 kh hna 31 26 phvscikayn 2547 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanehriyyckrmalaaelaehriyyckrphrrdimala pracapi 2552 elm 127 txnthi 6 kh hna 338 6 mithunayn 2553 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk