วัฒนธรรมหงชาน (จีนตัวย่อ: 红山文化; จีนตัวเต็ม: 紅山文化; พินอิน: Hóngshān wénhuà, อังกฤษ: Hongshan culture) เป็นวัฒนธรรมยุคหินใหม่ ในลุ่มแม่น้ำเหลียว แหล่งโบราณคดีหงชานพบในพื้นที่ที่ทอดยาวจาก มองโกเลียใน ถึง เหลียวหนิง และมีช่วงอายุตั้งแต่ 4,700 ถึง 2,900 ปีก่อนคริสตกาล
ชื่อภาษาท้องถิ่น | 红山文化 |
---|---|
ภูมิภาค | มองโกเลียใน และ เหลียวหนิง , ประเทศจีน |
สมัย | ยุคหินใหม่ |
ช่วงเวลา | 4,700 ถึง 2,900 ปีก่อนคริสตกาล |
ก่อนหน้า | วัฒนธรรม Xinglongwa (6,200 – 5,400 ปีก่อนคริสตกาล) วัฒนธรรม Xinle (5,300 – 4,800 ปีก่อนคริสตกาล) วัฒนธรรม Zhaobaogou (5,400 – 4,500 ปีก่อนคริสตกาล) |
ถัดไป | ยุคสำริด |
วัฒนธรรมนี้ตั้งชื่อตามหงชานโฮ่ว ( จีนตัวย่อ: 红山后; จีนตัวเต็ม: 紅山後; พินอิน: Hóngshān hòu) ซึ่งเป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่ใน แหล่งโบราณคดีหงชานโฮ่วถูกค้นพบโดย Torii Ryūzō นักโบราณคดีชาวญี่ปุ่นในปี 1908 และถูกขุดสำรวจขนานใหญ่ในปี 1935 โดย Kōsaku Hamada และ Mizuno Seiichi
บริบททางประวัติศาสตร์
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีนก่อนหน้าวัฒนธรรมหงชาน คือ วัฒนธรรมซิงหลงวา (兴隆洼; 6,200 – 5,400 ปีก่อนคริสตกาล) วัฒนธรรมซินเล่อ (新乐文化; 5,300 – 4,800 ปีก่อนคริสตกาล) วัฒนธรรมเจ้าเป่าโกว (赵宝沟文化; 5,400 – 4,500 ปีก่อนคริสตกาล) ทั้งนี้วัฒนธรรมหงชานอาจร่วมสมัยกับซินเล่อ และที่เกิดหลังจากนั้นเล็กน้อย
วัฒนธรรมหย่างเฉาที่กินอาณาบริเวณขนาดใหญ่ อยู่ร่วมสมัยกับวัฒนธรรมหงชาน (ดูแผนที่) วัฒนธรรมทั้งสองนี้มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
พันธุศาสตร์และเอกลักษณ์ชาติพันธุ์
การศึกษาโดย Yinqiu Cui et al. ในปีพ.ศ. 2556 พบว่าร้อยละ 63 ของกลุ่มตัวอย่างพันธุศาสตร์ที่คละกันจากแหล่งโบราณคดีต่าง ๆ ของวัฒนธรรมหงชาน ถูกระบุเป็นพันธุกรรมแบบ subclade N1 (xN1a, N1c) ของ (แฮ็ปโลกรุ๊ป N - พันธุกรรมเด่นที่พบในมนุษย์จากการถ่ายทอดผ่านทางฝ่ายชาย ส่วนมากใช้ชีวิตในแถบยูเรเชียตอนเหนือ) จากการคำนวณ N (ค่าบ่งชี้หลักของพันธุกรรมแฮ็ปโลกรุ๊ป N) สูงถึงร้อยละ 89 ซึ่งโดดเด่นออกจากชาติพันธุ์อื่น ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกในช่วงยุคหินใหม่ และพบว่าอัตราส่วน N จะค่อย ๆ ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป ปัจจุบันมนุษย์ที่มีพันธุกรรม แฮ็ปโลกรุ๊ป N นี้พบมากที่สุดในฟินแลนด์ รัฐบอลติก และในกลุ่มชาติพันธุ์ทางเหนือของไซบีเรียเช่น
กลุ่มพันธุกรรมอื่น ๆ ที่ถูกระบุในการศึกษา ได้แก่ C และ O2a (O2a2) ซึ่งทั้งสองกลุ่มพันธุกรรมนี้มีอิทธิพลเหนือประชากรในปัจจุบัน
รายงานการศึกษาปี 2563 โดยเนลสันและคณะ พยายามเชื่อมโยงวัฒนธรรมหงชาน กับบริบททางภาษา "Transeurasian" (ดู ถาษา Altaic )
โบราณวัตถุ
ศิลปวัตถุของวัฒนธรรมหงชานที่ถูกฝังใต้ดินที่เป็นที่รู้จักมากที่สุด ได้แก่ ศิลปกรรมงานแกะหยก โดยเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกว้างขวางในเรื่อง หินหยกรูป มังกรหมู (หรือ ทารกมังกร) นอกจากนี้ยังพบตุ๊กตาดินเผา รูปตุ๊กดาหญิงตั้งครรภ์ทั่วพื้นที่วัฒนธรรมหงซาน ยังมีการขุดพบแหวนทองแดงขนาดเล็กด้วย []
-
- เครื่องประดับหยกรูปสัตว์ วัฒนธรรมหงชาน, Niuheliang Lingyuan เหลียวหนิง ปี 2546 ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน ปักกิ่ง
- หยกประดับเป็นรูป เมฆแขวน ขนาดประมาณ 20 ซม. วัฒนธรรมหงซาน ที่พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน
- เครื่องประดับหยกในรูปแบบของ (璧, Bì) สามแผ่น ใน Niuheliang, หลิงหยวน เหลียวหนิง ปี 2545 พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน
- จี้ รูปมังกรหมู หรือ ตัวอ่อนมังกร วัฒนธรรมหงซานเหลียวหนิง ขนาด 15.3 ซม. อายุประมาณ 4700-3,000 ปีก่อนคริสตกาล .
- หุ่นดินเผาผู้หญิง หรือ หญิงมีครรภ์ อายุ 3500 ปีก่อนคริสตกาล สูง 7.8 ซม. ค้นพบที่ เหลียวหนิง ปี 2525 วัฒนธรรมหงซาน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีน
- มังกรหมู จัดแสดงใน บริติชมิวเซียม
ศาสนา
แหล่งโบราณคดีที่ Niuheliang เป็นสถานที่ประกอบศาสนพิธีที่เป็นเอกลักษณ์ซึ่งเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมหงชาน นักสำรวจโบราณคดีได้ค้นพบวิหารใต้ดินขนาดใหญ่ใน Niuheliang ซึ่งสำรวจพบ แท่นบูชา และ นักโบราณคดีตั้งชื่อว่า วิหารเทพธิดา เนื่องจากมีการค้นพบดินปั้นรูปศีรษะของหญิงที่มีดวงตาฝังประดับด้วย หยก โครงสร้างวิหารนี้ เป็นแบบวิหารใต้ดินซึ่งลึก 1 เมตร ประกอบขึ้นด้วยแท่นหินและผนังเที่มีภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง
โบราณวัตถุที่ตั้งอยู่ภายใน วิหารเทพธิดา คือ ประติมากรรมดินที่มีขนาดใหญ่ถึงสามเท่าของขนาดมนุษย์จริง รูปแกะสลักที่มีขนาดใหญ่มากนี้สันนิษฐานว่าอาจเป็นรูปเคารพของ เทพ ซึ่งไม่ได้ปรากฏในศาสนา และ วัฒนธรรมจีน อื่น ๆ
การมีอยู่ของเครือข่ายการค้าที่ซับซ้อนและอนุสรณ์สถาน(ทางศาสนา) เช่น เนินสุสาน [] และ วิหารเทพธิดา อาจบ่งชี้ถึงนัยยะของการดำรงอยู่ของ "" ในชุมชน ก่อนประวัติศาสตร์ เหล่านี้
นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ เครื่องปั้นดินเผา เขียนสีภายในวิหา และขุดพบสุสานในบริเวณใกล้เคียงกว่า 60 แห่ง ทั้งหมดสร้างด้วยหินและปิดทับด้วยกองหินซึ่งมักรวมถึงสศิลปวัตถุจากหยกด้วย สองกองถูกค้นพบบนยอดเนินสองแห่งที่อยู่ใกล้ ๆ โดยมีกลุ่มหลุมฝังศพทรงกลมหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งทำจากหินปูนซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ด้านในมีการฝ้งรูปแกะสลักของ มังกร และ เต่า
มีการสันนิษฐานว่า อาจเริ่มมีการพลีกรรมทางศาสนาในวัฒนธรรมหงชาน
ฮวงจุ้ย
ตามข้อสันนิษฐานด้วยหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับคติเรื่อง ฮวงจุ้ย ในยุคแรก ๆ นอกจากที่พบในแหล่ง วัฒนธรรมหย่างเฉา แล้ว ยังพบในแหล่งวัฒนธรรมหงชานอีกด้วย การปรากฏขึ้นของทั้งรูปทรงกลมและสี่เหลี่ยมที่อนุสรณ์สถานทางศาสนา แสดงให้เห็นถึงการปรากฏตัวของจักรวาลแบบ gaitian ("สวรรค์ทรงกลม, โลกสี่เหลี่ยม")
ฮวงจุ้ยในยุคแรกอาศัยดาราศาสตร์เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับจักรวาล
พัฒนาการของอารยธรรมจีน
นักโบราณคดีจีนบางคน เช่น กัวต้าชุน มองว่าวัฒนธรรมหงชานเป็นขั้นสำคัญของพัฒนาการของอารยธรรมจีนยุคแรก ไม่ว่าความสัมพันธ์ทางภาษาของผู้คนในสมัยโบราณนั้นจะเป็นอย่างไร แต่เชื่อกันว่าวัฒนธรรมหงชานมีอิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาอารยธรรมจีนในยุคแรก ๆ และยังมีส่วนในการพัฒนาการตั้งถิ่นฐานบนคาบสมุทรเกาหลีในสมัยโบราณ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Hamada, Kosaku and Mizuno Seiichi. "Chifeng Hongshanhou," Archaeologia Orientalis, ser. A, No. 6. Far-Eastern Archaeology Society of Japan, (1938).
- "Iindustries include ... copper." Encyclopedia of Prehistory: Volume 3: East Asia and Oceania, Ed.: Peter N. Peregrine, Melvin Ember, Springer Science & Business Media, 2001, p. 79
- Le cartel précise : Liaoning Provincial Institute of Cultural Relics and Archaeology
- Objet similaire in : China. 5000 years : Innovation and Transformation in the Arts, Selected by Sherman Lee, Guggenheim museum 1998. page Jade : 1
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-06. สืบค้นเมื่อ 2020-08-31.
- . Appellation chinoise traditionnelle : pièce jue. L'objet est vraisemblablement originaire de la région de Hongshan. Réf. Elisseeff 2008, p. 124-125 . Notice 7. "Amulette en forme de larve au museau vaguement porcin" : Roberto Ciarla : Ciarla & de Luca 2005, p. 22 .
- Please refer to .
- Sites of Hongshan Culture: The Niuheliang Archaeological Site, the Hongshanhou Archaeological Site, and Weijiawopu Archaeological Site unesco.org
- [1] University of Pittsburgh, Pennsylvania: Regional Lifeways and Cultural Remains in the Northern Corridor: Chifeng International Collaborative Archaeological Research Project. Cited references: Drennan 1995; and Earle 1987, 1997.
- Sarah M. Nelson, Rachel A. Matson, Rachel M. Roberts, Chris Rock and Robert E. Stencel: Archaeoastronomical Evidence for Wuism at the Hongshan Site of Niuheliang, 2006.
- Sun, X. (2000) Crossing the Boundaries between Heaven and Man: Astronomy in Ancient China. In H. Selin (ed.), Astronomy Across Cultures: The History of Non-Western Astronomy. 423–454. Kluwer Academic.
- Guo, Da-Shun 1995. Hongshan and related cultures. In: The archaeology of Northeast China: beyond the Great Wall. Nelson, Sarah M. ed. 21–64. London and New York: Routledge.
- [3] 2013-09-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Roger Blench(2004), Stratification in the peopling of China: how far does the linguistic evidence match genetics and archaeology? p.9
- Kwang-chih Chang and Sarah Allan, The Formation of Chinese Civilization: An Archaeological Perspective, p. 65
- [4] Keith Pratt(2006), Everlasting Flower, p.30.
อ่านเพิ่มเติม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wthnthrrmhngchan cintwyx 红山文化 cintwetm 紅山文化 phinxin Hongshan wenhua xngkvs Hongshan culture epnwthnthrrmyukhhinihm inlumaemnaehliyw aehlngobrankhdihngchanphbinphunthithithxdyawcak mxngokeliyin thung ehliywhning aelamichwngxayutngaet 4 700 thung 2 900 pikxnkhristkalwthnthrrmhngchanchuxphasathxngthin红山文化phumiphakhmxngokeliyin aela ehliywhning praethscinsmyyukhhinihmchwngewla4 700 thung 2 900 pikxnkhristkalkxnhnawthnthrrm Xinglongwa 6 200 5 400 pikxnkhristkal wthnthrrm Xinle 5 300 4 800 pikxnkhristkal wthnthrrm Zhaobaogou 5 400 4 500 pikxnkhristkal thdipyukhsaridmngkrhyk khdepnwngruptw C khxngwthnthrrmhngsan wthnthrrmnitngchuxtamhngchanohw cintwyx 红山后 cintwetm 紅山後 phinxin Hongshan hou sungepnaehlngobrankhdithixyuin aehlngobrankhdihngchanohwthukkhnphbody Torii Ryuzō nkobrankhdichawyipuninpi 1908 aelathukkhudsarwckhnanihyinpi 1935 ody Kōsaku Hamada aela Mizuno Seiichibribththangprawtisastrinphakhtawnxxkechiyngehnuxkhxngcinkxnhnawthnthrrmhngchan khux wthnthrrmsinghlngwa 兴隆洼 6 200 5 400 pikxnkhristkal wthnthrrmsinelx 新乐文化 5 300 4 800 pikxnkhristkal wthnthrrmecaepaokw 赵宝沟文化 5 400 4 500 pikxnkhristkal thngniwthnthrrmhngchanxacrwmsmykbsinelx aelathiekidhlngcaknnelknxy wthnthrrmhyangechathikinxanabriewnkhnadihy xyurwmsmykbwthnthrrmhngchan duaephnthi wthnthrrmthngsxngnimiptismphnthsungknaelaknphnthusastraelaexklksnchatiphnthukarsuksaody Yinqiu Cui et al inpiph s 2556 phbwarxyla 63 khxngklumtwxyangphnthusastrthikhlakncakaehlngobrankhditang khxngwthnthrrmhngchan thukrabuepnphnthukrrmaebb subclade N1 xN1a N1c khxng aehpolkrup N phnthukrrmednthiphbinmnusycakkarthaythxdphanthangfaychay swnmakichchiwitinaethbyuerechiytxnehnux cakkarkhanwn N khabngchihlkkhxngphnthukrrmaehpolkrup N sungthungrxyla 89 sungoddednxxkcakchatiphnthuxun inphumiphakhexechiytawnxxkinchwngyukhhinihm aelaphbwaxtraswn N cakhxy ldlngemuxewlaphanip pccubnmnusythimiphnthukrrm aehpolkrup N niphbmakthisudinfinaelnd rthbxltik aelainklumchatiphnthuthangehnuxkhxngisbieriyechn klumphnthukrrmxun thithukrabuinkarsuksa idaek C aela O2a O2a2 sungthngsxngklumphnthukrrmnimixiththiphlehnuxprachakrinpccubn rayngankarsuksapi 2563 odyenlsnaelakhna phyayamechuxmoyngwthnthrrmhngchan kbbribththangphasa Transeurasian du thasa Altaic obranwtthueruxekhruxngpndinephathrngkrabxkthasiwthnthrrmhngchan raw 4700 2900 pikxnkhristkal ehliywhningpi 1988 phiphithphnthaehngchaticin pkking silpwtthukhxngwthnthrrmhngchanthithukfngitdinthiepnthiruckmakthisud idaek silpkrrmnganaekahyk odyechphaathiepnthiruckkwangkhwangineruxng hinhykrup mngkrhmu hrux tharkmngkr nxkcakniyngphbtuktadinepha ruptukdahyingtngkhrrphthwphunthiwthnthrrmhngsan yngmikarkhudphbaehwnthxngaedngkhnadelkdwy txngkarxangxing ci hyk rupkhlay kib wthnthrrmhngchanin ehliywhning thi phiphithphnthaehngchaticin pkking ekhruxngpradbhykrupstw wthnthrrmhngchan Niuheliang Lingyuan ehliywhning pi 2546 thiphiphithphnthaehngchaticin pkking hykpradbepnrup emkhaekhwn khnadpraman 20 sm wthnthrrmhngsan thiphiphithphnthaehngchaticin ekhruxngpradbhykinrupaebbkhxng 璧 Bi samaephn in Niuheliang hlinghywn ehliywhning pi 2545 phiphithphnthaehngchaticin ci rupmngkrhmu hrux twxxnmngkr wthnthrrmhngsanehliywhning khnad 15 3 sm xayupraman 4700 3 000 pikxnkhristkal hundinephaphuhying hrux hyingmikhrrph xayu 3500 pikxnkhristkal sung 7 8 sm khnphbthi ehliywhning pi 2525 wthnthrrmhngsan phiphithphnthaehngchaticin mngkrhmu cdaesdngin britichmiwesiymsasnaaehlngobrankhdithi Niuheliang epnsthanthiprakxbsasnphithithiepnexklksnsungekiywkhxngkbwthnthrrmhngchan nksarwcobrankhdiidkhnphbwiharitdinkhnadihyin Niuheliang sungsarwcphb aethnbucha aela nkobrankhditngchuxwa wiharethphthida enuxngcakmikarkhnphbdinpnrupsirsakhxnghyingthimidwngtafngpradbdwy hyk okhrngsrangwiharni epnaebbwiharitdinsungluk 1 emtr prakxbkhundwyaethnhinaelaphnngethimiphaphwadcitrkrrmfaphnng obranwtthuthitngxyuphayin wiharethphthida khux pratimakrrmdinthimikhnadihythungsamethakhxngkhnadmnusycring rupaekaslkthimikhnadihymaknisnnisthanwaxacepnrupekharphkhxng ethph sungimidpraktinsasna aela wthnthrrmcin xun karmixyukhxngekhruxkhaykarkhathisbsxnaelaxnusrnsthan thangsasna echn eninsusan txngkarxangxing aela wiharethphthida xacbngchithungnyyakhxngkardarngxyukhxng inchumchn kxnprawtisastr ehlani nxkcakniyngmikarkhnphb ekhruxngpndinepha ekhiynsiphayinwiha aelakhudphbsusaninbriewniklekhiyngkwa 60 aehng thnghmdsrangdwyhinaelapidthbdwykxnghinsungmkrwmthungssilpwtthucakhykdwy sxngkxngthukkhnphbbnyxdeninsxngaehngthixyuikl odymiklumhlumfngsphthrngklmhruxsiehliymcturssungthacakhinpunsxnknepnchn daninmikarfngrupaekaslkkhxng mngkr aela eta mikarsnnisthanwa xacerimmikarphlikrrmthangsasnainwthnthrrmhngchanhwngcuytamkhxsnnisthandwyhlkthanthiekiywkhxngkbkhtieruxng hwngcuy inyukhaerk nxkcakthiphbinaehlng wthnthrrmhyangecha aelw yngphbinaehlngwthnthrrmhngchanxikdwy karpraktkhunkhxngthngrupthrngklmaelasiehliymthixnusrnsthanthangsasna aesdngihehnthungkarprakttwkhxngckrwalaebb gaitian swrrkhthrngklm olksiehliym hwngcuyinyukhaerkxasydarasastrephuxkhnhakhwamsmphnthrahwangmnusykbckrwalphthnakarkhxngxarythrrmcinnkobrankhdicinbangkhn echn kwtachun mxngwawthnthrrmhngchanepnkhnsakhykhxngphthnakarkhxngxarythrrmcinyukhaerk imwakhwamsmphnththangphasakhxngphukhninsmyobrannncaepnxyangir aetechuxknwawthnthrrmhngchanmixiththiphlxyangmaktxkarphthnaxarythrrmcininyukhaerk aelayngmiswninkarphthnakartngthinthanbnkhabsmuthrekahliinsmyobran aephnthiwthnthrrmyukhklanginpraethscin wthnthrrmhngsan khuxbriewnhmayelkh 1 bnaephnthiduephimraychuxwthnthrrmyukhhinihmkhxngcin yukhsaridxangxingHamada Kosaku and Mizuno Seiichi Chifeng Hongshanhou Archaeologia Orientalis ser A No 6 Far Eastern Archaeology Society of Japan 1938 Iindustries include copper Encyclopedia of Prehistory Volume 3 East Asia and Oceania Ed Peter N Peregrine Melvin Ember Springer Science amp Business Media 2001 p 79 Le cartel precise Liaoning Provincial Institute of Cultural Relics and Archaeology Objet similaire in China 5000 years Innovation and Transformation in the Arts Selected by Sherman Lee Guggenheim museum 1998 page Jade 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 07 06 subkhnemux 2020 08 31 Appellation chinoise traditionnelle piece jue L objet est vraisemblablement originaire de la region de Hongshan Ref Elisseeff 2008 p 124 125harvnb error no target CITEREFElisseeff2008 Notice 7 Amulette en forme de larve au museau vaguement porcin Roberto Ciarla Ciarla amp de Luca 2005 p 22harvnb error no target CITEREFCiarlade Luca2005 Please refer to Sites of Hongshan Culture The Niuheliang Archaeological Site the Hongshanhou Archaeological Site and Weijiawopu Archaeological Site unesco org 1 University of Pittsburgh Pennsylvania Regional Lifeways and Cultural Remains in the Northern Corridor Chifeng International Collaborative Archaeological Research Project Cited references Drennan 1995 and Earle 1987 1997 Sarah M Nelson Rachel A Matson Rachel M Roberts Chris Rock and Robert E Stencel Archaeoastronomical Evidence for Wuism at the Hongshan Site of Niuheliang 2006 Sun X 2000 Crossing the Boundaries between Heaven and Man Astronomy in Ancient China In H Selin ed Astronomy Across Cultures The History of Non Western Astronomy 423 454 Kluwer Academic Guo Da Shun 1995 Hongshan and related cultures In The archaeology of Northeast China beyond the Great Wall Nelson Sarah M ed 21 64 London and New York Routledge 3 2013 09 21 thi ewyaebkaemchchin Roger Blench 2004 Stratification in the peopling of China how far does the linguistic evidence match genetics and archaeology p 9 Kwang chih Chang and Sarah Allan The Formation of Chinese Civilization An Archaeological Perspective p 65 4 Keith Pratt 2006 Everlasting Flower p 30 xanephimetimAllan Sarah ed karkxtwkhxngxarythrrmcin mummxngthangobrankhdi ISBN 0 300 09382 9 cang k wangcux obrankhdikhxngcinobran ISBN 0 300 03784 8 Nelson Sarah Milledge ed The Archaeology of Northeast China Beyond the Great Wall ISBN 0 415 11755 0