วัฏจักรคาร์บอน เป็นวัฏจักรชีวธรณีเคมี ซึ่งคาร์บอนถูกแลกเปลี่ยนระหว่างสิ่งมีชีวิต, พื้นดิน, น้ำ และบรรยากาศของโลกคาร์บอนเป็นธาตุสำคัญธาตุหนึ่งของสิ่งมีชีวิต เป็นองค์ประกอบประมาณ 50%ของเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต และในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งมีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช การหมุนเวียนของคาร์บอนในระบบนิเวศแบ่งได้เป็น 3 แบบ ตามระยะเวลาที่ใช้ในการหมุนเวียนให้ครบรอบคือ ระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว
การหมุนเวียนระยะสั้น
เป็นการหมุนเวียนของคาร์บอนในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงและการหายใจ เริ่มจากพืชตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศมาสังเคราะห์เป็นสารอินทรีย์ คาร์บอนจากบรรยากาศจึงเคลื่อนย้ายเข้าสู่พืช เกิดขึ้นได้ทั้งบนบกและในน้ำ ดังสมการ
6CO2 + 6H2O → C6H12O6 + 6O2
ในการสังเคราะห์ด้วยแสง พืชจะเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็น บางส่วนถูกใช้ไป บางส่วนถูกเก็บสะสมในรูปคาร์โบไฮเดรต ซึ่งจะถ่ายทอดไปตามปรี
การย่อยสลายของจุลินทรีย์เกิดขึ้นได้สองสภาวะคือ สภาวะที่มีและไม่มีออกซิเจน ในสภาวะที่มีออกซิเจน คาร์บอนในสารอินทรีย์จะถูกปล่อยออกมาในรูปคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนในสภาวะไม่มีออกซิเจน คาร์บอนถูกปล่อยออกมาในรูปแก๊สมีเทน โดยการทำงานของแบคทีเรียกลุ่ม Methanogen แก๊สมีเทนจะถูกเปลี่ยนเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ โดยแบคทีเรียกลุ่ม Methylotroph เช่น
คาร์บอนมอนอกไซด์เป็นรูปหนึ่งของคาร์บอนที่เกิดจากของมีเทน หรือจากการเผาไหม้ของมวลชีวภาพ โดยปกติ คาร์บอนมอนอกไซด์เป็นต่อสิ่งมีชีวิต แต่ก็มีสิ่งมีชีวิตบางกลุ่มใช้คาร์บอนมอนอกไซด์เป็นแหล่งพลังงานได้ เช่น Pseudomonas carboxidoflava และ Pseudomonas carboxydohydrogena ซึ่งจะเปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์ให้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ในสภาวะที่มีออกซิเจน ส่วนในสภาวะไม่มีออกซิเจน Methanosarcina barkeri จะเปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นแก๊สมีเทน และ Clostridium thermoaceticum เปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์เป็นกรดน้ำส้ม
การหมุนเวียนระยะยาว
เป็นการหมุนเวียนของคาร์บอนผ่านระบบโครงสร้างของโลกทั้งในแผ่นดิน มหาสมุทรและหินปูน องค์ประกอบสำคัญของหินปูนคือแคลเซียมคาร์บอเนต หินปูนเป็นแหล่งสะสมคาร์บอนที่สำคัญของพื้นโลก การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและจะชะแคลเซียม ซิลิกา และคาร์บอนออกจากหินปูนดังสมการ
CaCO3 + CO2 → Ca2+ + 2HCO3-
CaSiO3 + 2CO2 + H2O → 2HCO3- + SiO2
สิ่งที่ได้จากการกัดเซาะจะลงสู่แม่น้ำและไปยังมหาสมุทร Ca2+ () และ HCO3- () บางส่วนจะถูกไปใช้ในการสร้างโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่มีแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ เช่นเปลือกหอย บางส่วนกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์กลับสู่บรรยากาศ เมื่อสิ่งมีชีวิตตาย จะถูกย่อยสลายได้เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ในน้ำลึก ซึ่งจะกลับสู่บรรยากาศเมื่อน้ำในบริเวณนั้นม้วนตัวขึ้นมา
อ้างอิง
- Mackenzie, F.T. 1995. Biogeochemistry InEncyclopedia of Environmental Biology. W.A. Nierenberg, editor. San diago: Academic Pres, Inc. pp 261-267, 270
- Atlas,R.M. and R. Bartha. 1998. Microbial Ecology: Fundamental and Application 4 edition. Menlo Park. Benjamin/Cummings. Science Plubishing.
- Atlas and Bartha. 1998, อ้างแล้ว
- Mackenzie, 1995. อ้างแล้ว
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wtckrkharbxn epnwtckrchiwthrniekhmi sungkharbxnthukaelkepliynrahwangsingmichiwit phundin na aelabrryakaskhxngolkkharbxnepnthatusakhythatuhnungkhxngsingmichiwit epnxngkhprakxbpraman 50 khxngenuxeyuxkhxngsingmichiwit aelainrupkharbxnidxxkisd sungmikhwamcaepntxkarecriyetibotkhxngphuch karhmunewiynkhxngkharbxninrabbniewsaebngidepn 3 aebb tamrayaewlathiichinkarhmunewiynihkhrbrxbkhux rayasn rayaklangaelarayayawaephnphumikhxngwtckrkharbxnkarhmunewiynrayasnepnkarhmunewiynkhxngkharbxninrupkharbxnidxxkisdphankrabwnkarsngekhraahdwyaesngaelakarhayic erimcakphuchtrungkharbxnidxxkisdinbrryakasmasngekhraahepnsarxinthriy kharbxncakbrryakascungekhluxnyayekhasuphuch ekidkhunidthngbnbkaelainna dngsmkar 6CO2 6H2O C6H12O6 6O2 inkarsngekhraahdwyaesng phuchcaepliynphlngnganaesngxathityepn bangswnthukichip bangswnthukekbsasminrupkharobihedrt sungcathaythxdiptampri karyxyslaykhxngculinthriyekidkhunidsxngsphawakhux sphawathimiaelaimmixxksiecn insphawathimixxksiecn kharbxninsarxinthriycathukplxyxxkmainrupkharbxnidxxkisd swninsphawaimmixxksiecn kharbxnthukplxyxxkmainrupaeksmiethn odykarthangankhxngaebkhthieriyklum Methanogen aeksmiethncathukepliynepnkharbxnidxxkisd odyaebkhthieriyklum Methylotroph echn kharbxnmxnxkisdepnruphnungkhxngkharbxnthiekidcakkhxngmiethn hruxcakkarephaihmkhxngmwlchiwphaph odypkti kharbxnmxnxkisdepntxsingmichiwit aetkmisingmichiwitbangklumichkharbxnmxnxkisdepnaehlngphlngnganid echn Pseudomonas carboxidoflava aela Pseudomonas carboxydohydrogena sungcaepliynkharbxnmxnxkisdihepnkharbxnidxxkisdinsphawathimixxksiecn swninsphawaimmixxksiecn Methanosarcina barkeri caepliynkharbxnmxnxkisdepnaeksmiethn aela Clostridium thermoaceticum epliynkharbxnmxnxkisdepnkrdnasmkarhmunewiynrayayawepnkarhmunewiynkhxngkharbxnphanrabbokhrngsrangkhxngolkthnginaephndin mhasmuthraelahinpun xngkhprakxbsakhykhxnghinpunkhuxaekhlesiymkharbxent hinpunepnaehlngsasmkharbxnthisakhykhxngphunolk karepliynaeplngkhxngsphaphxakasaelacachaaekhlesiym silika aelakharbxnxxkcakhinpundngsmkar CaCO3 CO2 Ca2 2HCO3 CaSiO3 2CO2 H2O 2HCO3 SiO2 singthiidcakkarkdesaacalngsuaemnaaelaipyngmhasmuthr Ca2 aela HCO3 bangswncathukipichinkarsrangokhrngsrangkhxngsingmichiwitthimiaekhlesiymkharbxentepnxngkhprakxb echnepluxkhxy bangswnklayepnkharbxnidxxkisdklbsubrryakas emuxsingmichiwittay cathukyxyslayidepnkharbxnidxxkisdinnaluk sungcaklbsubrryakasemuxnainbriewnnnmwntwkhunmaxangxingMackenzie F T 1995 Biogeochemistry InEncyclopedia of Environmental Biology W A Nierenberg editor San diago Academic Pres Inc pp 261 267 270 Atlas R M and R Bartha 1998 Microbial Ecology Fundamental and Application 4 edition Menlo Park Benjamin Cummings Science Plubishing Atlas and Bartha 1998 xangaelw Mackenzie 1995 xangaelwduephimwtckraekhlesiym wtckrxxksiecn karephaihm karhayic karsngekhraahdwyaesng