บทความนี้ไม่มีจาก |
วรรณกรรมพื้นบ้าน หมายถึง ผลงานที่เกิดขึ้นจากการใช้ภาษาโดยการพูดและการเขียนของกลุ่มชนในแต่ละท้องถิ่น เช่น วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ วรรณกรรมพื้นบ้านภาคอีสาน วรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้ เป็นต้น ซื่งในแต่ละท้องถิ่นก็จะใช้ภาษาพื้นบ้านในการถ่ายทอดเป็นเอกลักษณ์
วรรณกรรมที่สื่อเรื่องราวด้านต่างๆ ของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น ชีวิตความเป็นอยู่ สภาพเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ตลอดจนความเชื่อต่างๆ ของบรรพบุรุษ อันเป็นพื้นฐานของความคิดและพฤติกรรมของคนในปัจจุบัน
ลักษณะของวรรณกรรมพื้นบ้าน
- เป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจาก คือ เป็นการเล่าสืบต่อกันมาจากปากต่อปากและแพร่หลายกันอยู่ในกลุ่มชนท้องถิ่น
- เป็นแหล่งข้อมูลที่บันทึกข้อมูลด้านขนบธรรมเนียมประเพณีของกลุ่มชนท้องถิ่น อันเป็นแบบฉบับให้คนยุคต่อมาเชื่อถือและปฏิบัติตาม
- มักไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง เพราะเป็นเรื่องที่บอกเล่าสืบต่อกันมาจากปากต่อปาก
- ใช้ภาษาท้องถิ่น ลักษณะถ้อยคำเป็นคำง่ายๆ สื่อความหมายตรงไปตรงมา
- สนองความต้องการของกลุ่มชนในท้องถิ่น เช่น
- เพื่อความบันเทิง
- เพื่ออธิบายสิ่งที่คนในสมัยนั้นยังไม่เข้าใจ
- เพื่อสอนจริยธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและพฤติกรรมด้านต่างๆ
ประเภทของวรรณกรรมพื้นบ้าน
- จำแนกโดยอาศัยเขตท้องถิ่นได้ ๔ ประเภท คือ
- วรรณกรรมพื้นบ้านภาคเหนือ (วรรณกรรมล้านนา)
- วรรณกรรมพื้นบ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- วรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้
- วรรณกรรมพื้นบ้านภาคกลาง
- จำแนกตามวิธีการบันทึก ได้ ๒ ประเภท คือ
- หมายถึง วรรณกรรมที่ใช้วิธีเล่าจากปากต่อปาก ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
- หมายถึง วรรณกรรมที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-05. สืบค้นเมื่อ 2014-01-26.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir wrrnkrrmphunban hmaythung phlnganthiekidkhuncakkarichphasaodykarphudaelakarekhiynkhxngklumchninaetlathxngthin echn wrrnkrrmphunbanphakhehnux wrrnkrrmphunbanphakhxisan wrrnkrrmphunbanphakhit epntn sunginaetlathxngthinkcaichphasaphunbaninkarthaythxdepnexklksn wrrnkrrmthisuxeruxngrawdantang khxngthxngthinidthxngthinhnungodyechphaa echn chiwitkhwamepnxyu sphaphesrsthkicaelasngkhm thsnkhti khaniym tlxdcnkhwamechuxtang khxngbrrphburus xnepnphunthankhxngkhwamkhidaelaphvtikrrmkhxngkhninpccubnlksnakhxngwrrnkrrmphunbanepnmrdkthangwthnthrrmthisubthxdknmacak khux epnkarelasubtxknmacakpaktxpakaelaaephrhlayknxyuinklumchnthxngthin epnaehlngkhxmulthibnthukkhxmuldankhnbthrrmeniympraephnikhxngklumchnthxngthin xnepnaebbchbbihkhnyukhtxmaechuxthuxaelaptibtitam mkimpraktchuxphuaetng ephraaepneruxngthibxkelasubtxknmacakpaktxpak ichphasathxngthin lksnathxykhaepnkhangay suxkhwamhmaytrngiptrngma snxngkhwamtxngkarkhxngklumchninthxngthin echn ephuxkhwambnething ephuxxthibaysingthikhninsmynnyngimekhaic ephuxsxncriythrrmkhnbthrrmeniympraephniaelaphvtikrrmdantangpraephthkhxngwrrnkrrmphunbancaaenkodyxasyekhtthxngthinid 4 praephth khux wrrnkrrmphunbanphakhehnux wrrnkrrmlanna wrrnkrrmphunbanphakhtawnxxkechiyngehnux wrrnkrrmphunbanphakhit wrrnkrrmphunbanphakhklang caaenktamwithikarbnthuk id 2 praephth khux hmaythung wrrnkrrmthiichwithielacakpaktxpak immikarbnthukiwepnlaylksnxksr hmaythung wrrnkrrmthibnthukiwepnlaylksnxksr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 02 05 subkhnemux 2014 01 26