วรรณกรรมฝรั่งเศส หมายถึง กลุ่มของงานทางวรรณคดี (literary works) ที่รจนาหรือประพันธ์ขึ้นด้วยภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังอาจหมายถึงงานวรรณกรรมที่เขียนโดยชาวพื้นเมืองฝรั่งเศสซึ่งพูดภาษาดั้งเดิมของฝรั่งเศสนอกเหนือจากภาษาฝรั่งเศส และวรรณกรรมที่เขียนด้วยภาษาฝรั่งเศสโดยพลเมืองของประเทศอื่น ๆ เช่น เบลเยียม สวิตเซอร์แลนด์ แคนาดา เซเนกัล ตูนิเซีย แอลจีเรีย โมร็อกโก ฯลฯ งานเขียนในภาษาฝรั่งเศสเป็นงานวรรณกรรมที่มีอิทธิพลต่อวงการวรรณกรรมโลกในยุคสมัยใหม่ โดยนักเขียนจากฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมมากครั้งที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับชาติอื่น ๆ
ความเป็นเลิศทางวรรณคดีของฝรั่งเศสเป็นวัตถุแห่งความภาคภูมิใจสำหรับชาวฝรั่งเศส และเป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดของวรรณกรรมของยุโรปมาตั้งแต่สมัยยุคกลาง แม้ว่าความโดดเด่นของยุโรปในวรรณคดีฝรั่งเศสจะถูกบดบังไปบ้างโดยวรรณกรรมที่ถือกำเนิดในอิตาลีในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 แต่วรรณกรรมในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ก็ได้รับการฟื้นฟูครั้งใหญ่จากโครงการสนับสนุนทางศิลปะของ "ระบอบเก่า" (Ancien Régime) จนวรรณกรรมฝรั่งเศสได้เข้ามามีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมด้านอักษรศาสตร์ในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17
ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ภาษาฝรั่งเศสกลายเป็นภาษากลางในวรรณกรรมและภาษาทางการทูตของยุโรปตะวันตก ทำให้วัฒนธรรมทางอักษรของฝรั่งเศสมีผลกระทบอย่างมากต่อประเพณีวรรณกรรมในยุโรปและอเมริกา แต่ในขณะเดียวกันวรรณคดีฝรั่งเศสก็ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากประเพณีของชาติอื่น ๆ ในแอฟริกาและตะวันออกไกลซึ่งเคยเป็นชาติอาณานิคมของฝรั่งเศส จนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและเพิ่มประสบการณ์ให้กับวรรณกรรมฝรั่งเศสในปัจจุบัน
วรรณกรรมมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อผู้คนในฝรั่งเศสและมีบทบาทสำคัญต่อความรู้สึกทางอัตลักษณ์ของความเป็นฝรั่งเศส ทัศนคติเช่นนี้ได้รับการพัฒนามาโดยลำดับ เริ่มจากอุดมคติของชนชั้นสูงในระบอบเก่า (honnête homme) จนมาถึงการพัฒนาจิตวิญญาณชาตินิยมของฝรั่งเศสหลังการปฏิวัติ และอุดมการณ์ชาตินิยมทางการศึกษาของสาธารณรัฐที่สามและฝรั่งเศสสมัยใหม่ ชาวฝรั่งเศสมีความผูกพันและความหวงแหนในวัฒนธรรมและสมบัติทางวรรณคดีของตนอย่างลึกซึ้ง ปัจจุบันโรงเรียนภาษาฝรั่งเศสยังคงเน้นการศึกษานวนิยายการละครและบทกวี (มักเรียนรู้ด้วยการท่องจำ) ศิลปะวรรณกรรมได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากรัฐ และการรับรางวัลทางวรรณกรรมมักถูกประโคมเป็นข่าวสำคัญ โดยมีอากาเดมีฟร็องแซซ (Académie française) และ (Institut de France) เป็นสถาบันทางภาษาและศิลปะที่สำคัญของชาติ
นักประพันธ์ฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมบ่อยครั้งกว่านักประพันธ์ กวี และนักเขียนเรียงความของประเทศใดในโลก (อย่างไรก็ตามนักเขียนในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาอังกฤษจากสหรัฐ สหราชอาณาจักร อินเดีย ไอร์แลนด์ แอฟริกาใต้ ออสเตรเลีย แคนาดา ไนจีเรีย และเซนต์ลูเซีย รวมกันแล้วได้รับรางวัลโนเบลมากกว่านักเขียนในภาษาฝรั่งเศสถึงสองเท่า) ในปี พ.ศ. 2507 ฌ็อง-ปอล ซาทร์ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม แต่เขาปฏิเสธโดยระบุว่า "มันจะกลายเป็นคนละเรื่องกันเลย หากผมจะเซ็นชื่อ Jean-Paul Sartre เฉย ๆ กับถ้าผมเซ็นชื่อ Jean-Paul Sartre ในฐานะผู้ได้รับรางวัลโนเบล นักเขียนต้องปฏิเสธที่จะยอมเปลี่ยนตัวเองให้กลายเป็นสถาบัน แม้ว่ามันจะเกิดขึ้นในรูปแบบที่มีเกียรติที่สุดก็ตาม"
อ้างอิง
- French literature เมษายน 19, 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Discover France
- Romance languages and literatures: why study French ? เมษายน 19, 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน University of Michigan
- "Saying 'No thanks' to Nobel | News | al Jazeera". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-11. สืบค้นเมื่อ 2014-07-30.
แหล่งข้อมูลอื่น
- French Language & Literature Resources at Yale University
- Littérature francophone virtuelle (ClicNet) online texts
- Athena Textes Français[] online texts
- ABU online texts
- Jean-Michel Maulpoix & Co.: Modern and contemporary French literature site maintained by prominent French poet
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wrrnkrrmfrngess hmaythung klumkhxngnganthangwrrnkhdi literary works thircnahruxpraphnthkhundwyphasafrngess nxkcakniyngxachmaythungnganwrrnkrrmthiekhiynodychawphunemuxngfrngesssungphudphasadngedimkhxngfrngessnxkehnuxcakphasafrngess aelawrrnkrrmthiekhiyndwyphasafrngessodyphlemuxngkhxngpraethsxun echn ebleyiym switesxraelnd aekhnada esenkl tuniesiy aexlcieriy omrxkok l nganekhiyninphasafrngessepnnganwrrnkrrmthimixiththiphltxwngkarwrrnkrrmolkinyukhsmyihm odynkekhiyncakfrngessidrbrangwloneblsakhawrrnkrrmmakkhrngthisudemuxepriybethiybkbchatixun Folio 153v aethrrichesxrduwdukedxaebri kh s 1412 1416 khwamepnelisthangwrrnkhdikhxngfrngessepnwtthuaehngkhwamphakhphumiicsahrbchawfrngess aelaepnhnunginxngkhprakxbthimixiththiphlmakthisudkhxngwrrnkrrmkhxngyuorpmatngaetsmyyukhklang aemwakhwamoddednkhxngyuorpinwrrnkhdifrngesscathukbdbngipbangodywrrnkrrmthithuxkaenidinxitaliinsmyfunfusilpwithyarawkhriststwrrsthi 14 aetwrrnkrrminfrngessinkhriststwrrsthi 16 kidrbkarfunfukhrngihycakokhrngkarsnbsnunthangsilpakhxng rabxbeka Ancien Regime cnwrrnkrrmfrngessidekhamamixiththiphlehnuxwthnthrrmdanxksrsastrinyuorpinkhriststwrrsthi 17 inkhriststwrrsthi 18 phasafrngessklayepnphasaklanginwrrnkrrmaelaphasathangkarthutkhxngyuorptawntk thaihwthnthrrmthangxksrkhxngfrngessmiphlkrathbxyangmaktxpraephniwrrnkrrminyuorpaelaxemrika aetinkhnaediywknwrrnkhdifrngesskidrbxiththiphlxyangmakcakpraephnikhxngchatixun inaexfrikaaelatawnxxkiklsungekhyepnchatixananikhmkhxngfrngess cnnaipsukarepliynaeplngaelaephimprasbkarnihkbwrrnkrrmfrngessinpccubn wrrnkrrmmikhwamsakhyxyangyingtxphukhninfrngessaelamibthbathsakhytxkhwamrusukthangxtlksnkhxngkhwamepnfrngess thsnkhtiechnniidrbkarphthnamaodyladb erimcakxudmkhtikhxngchnchnsunginrabxbeka honnete homme cnmathungkarphthnacitwiyyanchatiniymkhxngfrngesshlngkarptiwti aelaxudmkarnchatiniymthangkarsuksakhxngsatharnrththisamaelafrngesssmyihm chawfrngessmikhwamphukphnaelakhwamhwngaehninwthnthrrmaelasmbtithangwrrnkhdikhxngtnxyangluksung pccubnorngeriynphasafrngessyngkhngennkarsuksanwniyaykarlakhraelabthkwi mkeriynrudwykarthxngca silpawrrnkrrmidrbkarsnbsnunxyangmakcakrth aelakarrbrangwlthangwrrnkrrmmkthukpraokhmepnkhawsakhy odymixakaedmifrxngaess Academie francaise aela Institut de France epnsthabnthangphasaaelasilpathisakhykhxngchati nkpraphnthfrngessidrbrangwloneblsakhawrrnkrrmbxykhrngkwankpraphnth kwi aelankekhiyneriyngkhwamkhxngpraethsidinolk xyangirktamnkekhiyninklumpraethsthiphudphasaxngkvscakshrth shrachxanackr xinediy ixraelnd aexfrikait xxsetreliy aekhnada incieriy aelaesntluesiy rwmknaelwidrbrangwloneblmakkwankekhiyninphasafrngessthungsxngetha inpi ph s 2507 chxng pxl sathr idrbrangwloneblsakhawrrnkrrm aetekhaptiesthodyrabuwa mncaklayepnkhnlaeruxngknely hakphmcaesnchux Jean Paul Sartre echy kbthaphmesnchux Jean Paul Sartre inthanaphuidrbrangwlonebl nkekhiyntxngptiesththicayxmepliyntwexngihklayepnsthabn aemwamncaekidkhuninrupaebbthimiekiyrtithisudktam xangxingFrench literature emsayn 19 2016 thi ewyaebkaemchchin Discover France Romance languages and literatures why study French emsayn 19 2012 thi ewyaebkaemchchin University of Michigan Saying No thanks to Nobel News al Jazeera cakaehlngedimemux 2016 08 11 subkhnemux 2014 07 30 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wrrnkrrmfrngess French Language amp Literature Resources at Yale University Litterature francophone virtuelle ClicNet online texts Athena Textes Francais lingkesiy online texts ABU online texts Jean Michel Maulpoix amp Co Modern and contemporary French literature site maintained by prominent French poet