วนบรรพ (อักษรโรมัน: Vana Parva) แปลว่า "บรรพแห่งป่า" (เรียก "อรัณยกะบรรพ" หรือ "อรัณยบรรพ" ก็มี) เป็นหนังสือบรรพที่ 3 ของ มหาภารตะ มีบรรพย่อยทั้งหมด 21 บรรพ รวมทั้งหมด 324 ตอน มีเนื้อเรื่องต่อจาก สภาบรรพ ว่าด้วยเรื่องการเดินป่าของเหล่าปาณฑพในช่วง 12 ปีแห่งการเนรเทศบรรพนี้มีเนื้อหาต่อเนื่องมาจาก อา สภาบรรพ ส่วนบรรพต่อไปจากนี้คือ วิราฏบรรพ
เนื้อเรื่อง และบรรพย่อย
ในบรรพนี้ประกอบไปด้วย 21 บรพย่อย รวมทั้งสิ้น 324 ตอน
เรื่องราวในบรรพนี้เล่าถึงเหตุการณ์หลังจากพี่น้องปาณฑพแพ้พนันสกาต่อพวกเการพ พวกปาณฑพต้องลี้ภัยไปอยู่ท่ามกลางความเสียใจของประชาชนที่นิยมชื่นชอบในราชวงศ์ปาณฑพ ในระหว่างที่กำลังจะเดินทางไปลี้ภัยในป่า ท้าววิฑูรพยายามอย่างหนักให้ท้าวธฤตราษฎร์ยกเลิกข้อตกลงดังกล่าวและให้เรียกตัวกลับมาแต่ไม่เป็นผล[]
เมื่อพวกปาณฑพไปอาศัยอยู่ในป่ามีพรรคพวกไปเยี่ยมกันไม่ขาด โดยเฉพาะพระกฤษณะเอง ก็ไปเยี่ยมพวกปาณฑพถึงในป่าด้วย พร้อมกับกระตุ้นปลุกใจให้พวกปาณฑพทำสงครามเพื่อยุติข้อขัดแย้งกับพวกเการพ ข้อเสนอของกฤษณะได้รับการสนับสนุนจากพระนางเทราปตีและภีมะ แต่ยุธิษฐิระปฏิเสธและยืนยันขอทำตามสัญญาที่ให้เอาไว
้ส่วนอรชุนซึ่งต้องลี้ภัยเพราะละเมิดข้อตกลงใช้เวลาอยู่ในสวรรค์เป็นเวลานานถึงห้าปี เพื่อสะสมอาวุธวิเศษ ในขณะที่พวกพี่น้องปาณฑพที่เหลือและพระนางเทราปตีต้องอาศัยอยู่ในป่าด้วยความยากลำบาก วันหนึ่งมีฤๅษีชื่อ "ฤๅษีพฤหัสทัศวะ" ได้มาเยี่ยมและได้ถือโอกาสเล่าเรื่อง "พระนลกับพระนางทมยันตี" ให้ฟัง เพื่อเป็นอุทาหรณ์สอนใจให้อดทนต่อสิ่งที่เกิดขึ้น
ตำนานความรักระหว่างพระนลกับทมยันตีนั้นเป็นเรื่องราวของความรัก ซึ่งพระนลต้องได้รับความยากลำบากเพราะมีนิสัยชอบเล่นการพนันทอดสกาเหมือนกับยุธิษฐิระ โดยมีนางทมยันตีคอยให้ความช่วยเหลือเป็นกำลังใจและอดทนก่อนที่เรื่องจะจบลงด้วยดีในตอนท้าย[]
ในระหว่างที่อยู่ในป่า พวกปาณฑพได้มีโอกาสไปเยี่ยมสถานที่อันเคยเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในอีตเป็นจำนวนมาก และมีโอกาสได้ฟังเรื่องราวในอดีตจากบรรดาผู้บำเพ็ญพรตในป่าหลายต่อหลายเรื่อง รวมทั้งที่ต้องเผชิญกับการคุกคามของพวกอสูรในป่าหลายต่อหลายครั้ง แต่ภีมะก็อาศัยพละกำลังแก้ไขสถานการณ์ได้เสมอ
ทางด้านอรชุนเมื่อจบการเดินทางอันยาวนานก็เดินทางกลับมาสมทบกับพี่น้องปาณฑพอีกครั้งหนึ่ง หลังจากได้อาวุธวิเศษไว้ในครอบครองเป็นจำนวนมาก นอกจากนี้พวกปาณฑพยังได้มีโอกาสไปพำนักในสวนของท้าวกุเวรเป็นเวลาต่อเนื่องยาวนานถึงสี่ปีเต็ม ก่อนจะเดินทางกลับมาพำนักอยู่ในป่าแต่เดิมที่เคยอาศัยอยู่ และที่นั่นพวกปาณฑพยังได้ฟังเรื่องราวตำนานในอดีตที่มีคติสอนใจในเรื่องต่าง ๆ จากพวกฤๅษีนักพรต ซึ่งแต่ละคนก็มีความกระตือรือร้นที่จะสอนพวกปาณฑพ
การใช้ชีวิตในป่าสำหรับพวกปาณฑพก็ไม่ต่างจากการได้ฝึกอบรมบ่มเพาะจิตใจของตัวเอง พร้อมกับได้เรียนรู้เรื่องที่จำเป็นที่จะทำหน้าที่เป็นผู้นำที่ดีในอนาคตไปพร้อม ๆ กันด้วย ถือว่าเป็นช่วงเวลาแห่งการเตรียมความพร้อมที่สำคัญมากสำหรับพวกปาณฑพ[]
ส่วนทุรโยธน์เอง แม้จะรู้ดีว่าช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาแห่งการลี้ภัยของพวกพี่น้องปาณฑพ แต่ทุรโยธน์ก็อยากจะทำอะไรเพื่อเป็นการสร้างความเจ็บช้ำเพิ่มเติมให้พวกปาณฑพอีก จึงเดินทางมายังป่าดังกล่าว แต่ว่าถูกพวกคนธรรพ์จับตัวไปได้และกลายเป็นว่าพวกพี่น้องปาณฑพต้องมาช่วยให้พ้นภัยไปในแบบที่ทุรโยธน์ไม่เต็มอกเต็มใจนัก ในขณะที่กรรณะเองได้ลงมือลงแรงอย่างหนักเพื่อสร้างความยิ่งใหญ่ให้กับทุรโยธน์ และถึงจุดจุดหนึ่งก็พร้อมใจกันสถาปนาทุรโยธน์ให้เป็นจักรพรรดิเหนือพระราชาแว่นแคว้นอื่นได้เป็นผลสำเร็จบ
ในช่วงเวลา 12 ปีของการอยู่ในป่าของพวกปาณฑพและพระนางเทราปตี จะมีเรื่องเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว และครั้งหนึ่งท้าวชยัทรัถพระราชาแห่งแคว้นสินธุได้มาลักพาตัวพระนางเทราปตีไป เดือดร้อนให้พวกปาณฑพต้องไปช่วยเหลือนำตัวกลับคืนมา ไม่ต่างจากตำนานของพระรามกับนางสีดาในมหากาพย์รามารณะเลย พร้อมกันนั้นฤๅษีที่อาศัยร่วมกันในป่ายังได้เล่าถึงตำนานของ "พระนางสาวิตรี" ซึ่งมีความมั่นคงในความรักต่อสามีคือ "ท้าวสัตยถาวร" ถึงขั้นสามารถดึงรั้งชีวิตของท้าวสัตยวารกลับจากเงื้อมมือของพญายมได้เป็นผลสำเร็จ
ในระหว่างที่อยู่ในป่า ยุธิษฐิระได้แสดงความวิตกกังวลถึงความร้ายกาจของกรรณะเพราะรู้ว่ากรรณะได้รับของประทานจากพระผู้เป็นเจ้า ว่าไม่มีใครสามารถทำลายชีวิตได้ ทำให้พระอินทร์ซึ่งได้รับคำแนะนำจากพราหมณ์ต้องดำเนินการแก้ไขปัญหานี้ โดยปลอมตัวไปขอเสื้อเกราะและกุณฑลที่เป็นอุปกรณ์รักษาชีวิตจากกรรณะ โดยยอมแลกกับหอกวิเศษที่สามารถใช้ได้ตามใจปรารถนาเพียงครั้งเดียวเพื่อทำลายศัตรูที่เป็นใครก็ได้
เรื่องราวที่เกิดขึ้นในระหว่างอยู่ในป่ายังรวมไปถึงการพลัดพรากกันของพี่น้องปาณฑพสี่คน เพราะไปดื่มน้ำที่มียาพิษเข้า จึงต้องเดือดร้อนถึงยุษฐิระต้องไปขอชีวิตคืน ด้วยการตอบคำถามของยักษ์ที่เป็นเจ้าของสระน้ำมีพิษดังกล่าว[]
อ้างอิง
- Ganguli, K.M. (1883-1896) "Vana Parva" in The Mahabharata of Krishna-Dwaipayana Vyasa (12 Volumes). Numerous editions
- Dutt, M.N. (1896) The Mahabharata (Volume 3): Aranya Parva. Calcutta: Elysium Press
- (1868) Indian Epic Poetry. London: Williams & Norgate, p 103
- Last Chapter of Aranya Parva The Mahabharat, Translated by Manmatha Nath Dutt (1894)
- Arany Parva Mahabharat, Translated by Kisari Mohan Ganguli, Published by P.C. Roy (1884)
แหล่งข้อมูลอื่น
- English Translation of Aranya Parva by Kisari Mohan Ganguli
- Aranya Parva, Translation in English, by Manmatha Nath Dutt
- Le Mahabharata, Translation in French, by H. Fauche (Paris, 1868)
- English Translation, readable; Translation by Kisari Mohan Ganguli
- Aranya Parva in Sanskrit by Vyasadeva and commentary by Nilakantha (Editor: Kinjawadekar, 1929)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wnbrrph xksrormn Vana Parva aeplwa brrphaehngpa eriyk xrnykabrrph hrux xrnybrrph kmi epnhnngsuxbrrphthi 3 khxng mhapharta mibrrphyxythnghmd 21 brrph rwmthnghmd 324 txn mienuxeruxngtxcak sphabrrph wadwyeruxngkaredinpakhxngehlapanthphinchwng 12 piaehngkarenrethsbrrphnimienuxhatxenuxngmacak xa sphabrrph swnbrrphtxipcaknikhux wiratbrrphenuxeruxng aelabrrphyxyinbrrphniprakxbipdwy 21 brphyxy rwmthngsin 324 txn eruxngrawinbrrphnielathungehtukarnhlngcakphinxngpanthphaephphnnskatxphwkekarph phwkpanthphtxngliphyipxyuthamklangkhwamesiyickhxngprachachnthiniymchunchxbinrachwngspanthph inrahwangthikalngcaedinthangipliphyinpa thawwithurphyayamxyanghnkihthawthvtrasdrykelikkhxtklngdngklawaelaiheriyktwklbmaaetimepnphl txngkarxangxing emuxphwkpanthphipxasyxyuinpamiphrrkhphwkipeyiymknimkhad odyechphaaphrakvsnaexng kipeyiymphwkpanthphthunginpadwy phrxmkbkratunplukicihphwkpanthphthasngkhramephuxyutikhxkhdaeyngkbphwkekarph khxesnxkhxngkvsnaidrbkarsnbsnuncakphranangethraptiaelaphima aetyuthisthiraptiesthaelayunynkhxthatamsyyathiihexaiw swnxrchunsungtxngliphyephraalaemidkhxtklngichewlaxyuinswrrkhepnewlananthunghapi ephuxsasmxawuthwiess inkhnathiphwkphinxngpanthphthiehluxaelaphranangethraptitxngxasyxyuinpadwykhwamyaklabak wnhnungmivisichux visiphvhsthswa idmaeyiymaelaidthuxoxkaselaeruxng phranlkbphranangthmynti ihfng ephuxepnxuthahrnsxnicihxdthntxsingthiekidkhun tanankhwamrkrahwangphranlkbthmyntinnepneruxngrawkhxngkhwamrk sungphranltxngidrbkhwamyaklabakephraaminisychxbelnkarphnnthxdskaehmuxnkbyuthisthira odyminangthmyntikhxyihkhwamchwyehluxepnkalngicaelaxdthnkxnthieruxngcacblngdwydiintxnthay txngkarxangxing inrahwangthixyuinpa phwkpanthphidmioxkasipeyiymsthanthixnekhyepnsthanthiskdisiththiinxitepncanwnmak aelamioxkasidfngeruxngrawinxditcakbrrdaphubaephyphrtinpahlaytxhlayeruxng rwmthngthitxngephchiykbkarkhukkhamkhxngphwkxsurinpahlaytxhlaykhrng aetphimakxasyphlakalngaekikhsthankarnidesmx thangdanxrchunemuxcbkaredinthangxnyawnankedinthangklbmasmthbkbphinxngpanthphxikkhrnghnung hlngcakidxawuthwiessiwinkhrxbkhrxngepncanwnmak nxkcakniphwkpanthphyngidmioxkasipphankinswnkhxngthawkuewrepnewlatxenuxngyawnanthungsipietm kxncaedinthangklbmaphankxyuinpaaetedimthiekhyxasyxyu aelathinnphwkpanthphyngidfngeruxngrawtananinxditthimikhtisxnicineruxngtang cakphwkvisinkphrt sungaetlakhnkmikhwamkratuxruxrnthicasxnphwkpanthph karichchiwitinpasahrbphwkpanthphkimtangcakkaridfukxbrmbmephaacitickhxngtwexng phrxmkbideriynrueruxngthicaepnthicathahnathiepnphunathidiinxnakhtipphrxm kndwy thuxwaepnchwngewlaaehngkaretriymkhwamphrxmthisakhymaksahrbphwkpanthph txngkarxangxing swnthuroythnexng aemcarudiwachwngewladngklawepnchwngewlaaehngkarliphykhxngphwkphinxngpanthph aetthuroythnkxyakcathaxairephuxepnkarsrangkhwamecbchaephimetimihphwkpanthphxik cungedinthangmayngpadngklaw aetwathukphwkkhnthrrphcbtwipidaelaklayepnwaphwkphinxngpanthphtxngmachwyihphnphyipinaebbthithuroythnimetmxketmicnk inkhnathikrrnaexngidlngmuxlngaerngxyanghnkephuxsrangkhwamyingihyihkbthuroythn aelathungcudcudhnungkphrxmicknsthapnathuroythnihepnckrphrrdiehnuxphrarachaaewnaekhwnxunidepnphlsaercb inchwngewla 12 pikhxngkarxyuinpakhxngphwkpanthphaelaphranangethrapti camieruxngekidkhunepnkhrngkhraw aelakhrnghnungthawchythrthphrarachaaehngaekhwnsinthuidmalkphatwphranangethraptiip eduxdrxnihphwkpanthphtxngipchwyehluxnatwklbkhunma imtangcaktanankhxngphraramkbnangsidainmhakaphyramarnaely phrxmknnnvisithixasyrwmkninpayngidelathungtanankhxng phranangsawitri sungmikhwammnkhnginkhwamrktxsamikhux thawstythawr thungkhnsamarthdungrngchiwitkhxngthawstywarklbcakenguxmmuxkhxngphyaymidepnphlsaerc inrahwangthixyuinpa yuthisthiraidaesdngkhwamwitkkngwlthungkhwamraykackhxngkrrnaephraaruwakrrnaidrbkhxngprathancakphraphuepneca waimmiikhrsamarththalaychiwitid thaihphraxinthrsungidrbkhaaenanacakphrahmntxngdaeninkaraekikhpyhani odyplxmtwipkhxesuxekraaaelakunthlthiepnxupkrnrksachiwitcakkrrna odyyxmaelkkbhxkwiessthisamarthichidtamicprarthnaephiyngkhrngediywephuxthalaystruthiepnikhrkid eruxngrawthiekidkhuninrahwangxyuinpayngrwmipthungkarphldphrakknkhxngphinxngpanthphsikhn ephraaipdumnathimiyaphisekha cungtxngeduxdrxnthungyusthiratxngipkhxchiwitkhun dwykartxbkhathamkhxngyksthiepnecakhxngsranamiphisdngklaw txngkarxangxing xangxingGanguli K M 1883 1896 Vana Parva in The Mahabharata of Krishna Dwaipayana Vyasa 12 Volumes Numerous editions Dutt M N 1896 The Mahabharata Volume 3 Aranya Parva Calcutta Elysium Press 1868 Indian Epic Poetry London Williams amp Norgate p 103 Last Chapter of Aranya Parva The Mahabharat Translated by Manmatha Nath Dutt 1894 Arany Parva Mahabharat Translated by Kisari Mohan Ganguli Published by P C Roy 1884 aehlngkhxmulxunEnglish Translation of Aranya Parva by Kisari Mohan Ganguli Aranya Parva Translation in English by Manmatha Nath Dutt Le Mahabharata Translation in French by H Fauche Paris 1868 English Translation readable Translation by Kisari Mohan Ganguli Aranya Parva in Sanskrit by Vyasadeva and commentary by Nilakantha Editor Kinjawadekar 1929