มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงของเรื่อง(มีนาคม 2024) |
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟ (Railway signalling system) เป็นระบบกลไก สัญญาณไฟ หรือระบบคอมพิวเตอร์ ในการเดินขบวนรถไฟเพื่อแจ้งให้พนักงานขับรถไฟทราบสภาพเส้นทางข้างหน้า และตัดสินใจที่จะหยุดรถ ชะลอความเร็ว หรือบังคับทิศทาง ให้การเดินรถดำเนินไปได้อย่างปลอดภัย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในการเดินรถสวนกันบนเส้นทางเดียว หรือการสับหลีกเพื่อให้รถไฟวิ่งสวนกันบริเวณสถานีรถไฟ หรือควบคุมรถไฟให้การเดินขบวนเป็นไปตามที่กำหนดไว้กรณีที่ใช้ระบบอาณัติสัญญาณแบบคอมพิวเตอร์
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟจะควบคุมและกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ และระยะเวลาในการเดินรถ ของขบวนรถที่อยู่บนทางร่วมเดียวกัน รวมทั้งการสับหลีกบริเวณสถานีรถไฟ โดยการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบ จะออกแบบให้ทำงานสัมพันธ์กัน เพื่อให้พนักงานขับรถไฟสามารถตัดสินใจเดินรถได้อย่างมั่นใจ และไม่ให้เกิดความสับสน
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ
สัญญาณประจำที่ (Wayside Signals)
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย มีการลักษณะใช้สัญญาณประจำที่โดยพนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามท่าแสดงสัญญาณอย่างเคร่งครัด โดยสัญญาณประจำที่นั้นได้มีการกำหนดให้ตั้งอยู่ทางด้านขวาของขบวนรถในทางเดี่ยว และด้านซ้ายของขบวนรถในทางคู่ แบ่งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้
- สัญญาณไฟสี (Color Light Signals) แบ่งเป็นประเภทไฟสีสองท่า (Two Aspect) หรือไฟสีสามท่า (Three Aspect)
- สัญญาณหางปลา (Semaphore Signals)
- หลักเขตสถานี
สัญญาณประจำที่ของการรถไฟที่ใช้มีดังนี้
หลักเขตสถานี (Limit of Station) ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและอยู่ภายนอกประแจอันนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
สัญญาณเตือน (Warner SIgnal หรือ Distant Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตนอก หรืออยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเจตนอก หรือก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน(หากไม่มีสัญญาณเข้าเขตนอก) หรือก่อนถึงสัญญาณอัตโนมัติ ประมาณ 1000 ถึง 1,500 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้ทราบถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไปว่าอยู่ในท่าใด
สัญญาณเข้าเขตนอก (Outer Home Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณเข้าเขตใน
สัญญาณเข้าเขตใน (Inner Home Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและประแจตัวนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
สัญญาณออก (Starter Signal หรือ Exit Signal) ตั้งอยู่ในทิศทางที่ขบวนรถจะออกจากสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่ตอน หรือตอนอัตโนมัติ หรือสัญญาณออกอันนอก(ถ้ามี)
สัญญาณออกอันนอก (Outer Starter Signal) ตั้งอยู่ถัดจากสัญญาณออก เป็นสัญญาณที่อยู่อันนอกสุด ทำหน้าที่เช่นเดียวกับสัญญาณออกหรือหลักเขตสับเปลี่ยน
สัญญาณเรียกเข้า (Call-On Signal) ตั้งอยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเขตนอกหรือสัญญาณเข้าเขตในชนิดไฟสี ทำหน้าที่อนุญาตให้ขบวนรถเดินผ่านสัญญาณที่อยู่ในที่ห้าม
สัญญาณตัวแทน (Repeater Signal) ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณประจำที่ในกรณีที่ไม่สามารถมองเห็นสัญญาณถัดไปในระยะไกลได้ (เช่นทางโค้ง) โดยแสดงสัญญาณตามท่าของสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป
สัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Signal) ตั้งอยู่ในตอนอัตโนมัติทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป
สัญญาณผ่านถนนเสมอระดับทาง (Level Crossing Rail Warning Signal) ตั้งอยู่ห่างจากขอบถนนที่ตัดผ่านทางรถไฟไม่น้อยกว่า 50 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้พนักงานขับรถทราบว่าเครื่องกั้นถนนได้ปิดเรียบร้อยแล้วหรือไม่
ประเภทของเครื่องสัญญาณประจำที่ (Classification of Interlocking Station)
การรถไฟแห่งประเทศไทยได้แบ่งประเภทของระบบอาณติสัญญาณประจำสถานีรถไฟ โดยแบ่งตามประเภทของสัญญาณประจำที่ที่ใช้ในแต่ละสถานีดังนี้
ประเภท ก. ประแจกลหมู่ (Class A. Fully Interlocking)
- ก.1ก : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี (A1a : All Relay Interlocking with Color Light Signals)
- ก.1ข : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยคอมพิวเตอร์ และสัญญาณไฟสี (A1b : Computer Base Interlocking with Color Light Signals)
- ก.2 : ประแจกลไฟฟ้าชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยเครื่องกล และสัญญาณไฟสี (A2 : Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)
1) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยเครื่องกลและไฟฟ้าสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)
2) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยสายลวดสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking but Operated from Lever Frame with Color Light Signals)
- ก.3 : ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลาชนิดมีสัญญาณเตือน สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก (A3 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped with Warner Home and Starter Signals)
- ก.4 : ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลา สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก ไม่มีสัญญาณเตือน (A4 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped but without Warner Either Equiped with Home and Starter)
ประเภท ข. ประแจกลเดี่ยว (Class B. Semi Interlocking)
ข. ประแจกลเดี่ยว (ประแจมือ) พร้อมสัญญาณหางปลา (B : Semi Interlocking with Semaphore Signal with Hand Operated Key Locked Points)
ประเภท ค. (Class C.)
ค. สถานีมีเสาสัญญาณหางปลาอย่างเดียว (C: Station with Semaphore Signals Only)
ประเภท ง. (Class D.)
ง. สถานีใช้ป้ายเขตสถานี ไม่มีสัญญาณประจำที่ (D : Stations without Signals but with Hand Operated Key Locked Points)
ประเภท จ. (Class E.)
จ. สถานีใช้ป้ายหยุดรถ หรือที่หยุดรถ (E : Stopping Place)
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- การออกแบบระบบอาณัติสัญญาณรถไฟด้วยคอมพิวเตอร์
- http://www.railway.co.th/seatcheck/guest/webboards/board_posts.asp?FID=2936 2006-10-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://en.wikipedia.org/wiki/Railway_signal
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm minakhm 2024 eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud rabbxantisyyanrthif Railway signalling system epnrabbklik syyanif hruxrabbkhxmphiwetxr inkaredinkhbwnrthifephuxaecngihphnkngankhbrthifthrabsphaphesnthangkhanghna aelatdsinicthicahyudrth chalxkhwamerw hruxbngkhbthisthang ihkaredinrthdaeninipidxyangplxdphy rwderw aelamiprasiththiphaph odyechphaainkaredinrthswnknbnesnthangediyw hruxkarsbhlikephuxihrthifwingswnknbriewnsthanirthif hruxkhwbkhumrthifihkaredinkhbwnepniptamthikahndiwkrnithiichrabbxantisyyanaebbkhxmphiwetxr rabbxantisyyanrthifcakhwbkhumaelakahndthisthangkarekhluxnthi aelarayaewlainkaredinrth khxngkhbwnrththixyubnthangrwmediywkn rwmthngkarsbhlikbriewnsthanirthif odykarthangankhxngxupkrntang inrabb caxxkaebbihthangansmphnthkn ephuxihphnkngankhbrthifsamarthtdsinicedinrthidxyangmnic aelaimihekidkhwamsbsnrabbxantisyyanrthifinpraethsithyrabbxantisyyanrthifinpraethsithy khxngkarrthifaehngpraethsithy xxkaebbodykhanungthungkhwamplxdphy sphaphphumipraeths khwamladchn thangokhng sphaphrang khwamhnaaennkhxngchumchn aelangbpraman syyanpracathi Wayside Signals xantisyyanpracathichnidifsisxngtha thisthanirthifchumthangaekngkhxy rabbxantisyyanrthifinpraethsithy mikarlksnaichsyyanpracathiodyphnkngankhbrthcatxngptibtitamthaaesdngsyyanxyangekhrngkhrd odysyyanpracathinnidmikarkahndihtngxyuthangdankhwakhxngkhbwnrthinthangediyw aeladansaykhxngkhbwnrthinthangkhu aebngxxkepn 3 chniddngnisyyanifsi Color Light Signals aebngepnpraephthifsisxngtha Two Aspect hruxifsisamtha Three Aspect syyanhangpla Semaphore Signals hlkekhtsthani syyanpracathikhxngkarrthifthiichmidngni hlkekhtsthani Limit of Station tngxyukxnthungsthaniaelaxyuphaynxkpraaecxnnxksudkhxngsthani thahnathihamhruxxnuyatihkhbwnrthedinekhasusthani syyanetuxn Warner SIgnal hrux Distant Signal tngxyukxnthungsyyanekhaekhtnxk hruxxyurwmkbsyyanekhaectnxk hruxkxnthungsyyanekhaekhtin hakimmisyyanekhaekhtnxk hruxkxnthungsyyanxtonmti praman 1000 thung 1 500 emtr thahnathiaesdngihthrabthungsyyanpracathitwthdipwaxyuinthaid syyanekhaekhtnxk Outer Home Signal tngxyukxnthungsyyanekhaekhtin thahnathihamhruxxnuyatihkhbwnrthedinthungsyyanekhaekhtin syyanekhaekhtin Inner Home Signal tngxyukxnthungsthaniaelapraaectwnxksudkhxngsthani thahnathihamhruxxnuyatihkhbwnrthedinekhasusthani syyanxxk Starter Signal hrux Exit Signal tngxyuinthisthangthikhbwnrthcaxxkcaksthani thahnathihamhruxxnuyatihkhbwnrthedinekhasutxn hruxtxnxtonmti hruxsyyanxxkxnnxk thami syyanhangpla cdaesdngthiphiphithphnthrthifaehngchati praethsxngkvs syyanxxkxnnxk Outer Starter Signal tngxyuthdcaksyyanxxk epnsyyanthixyuxnnxksud thahnathiechnediywkbsyyanxxkhruxhlkekhtsbepliyn syyaneriykekha Call On Signal tngxyurwmkbsyyanekhaekhtnxkhruxsyyanekhaekhtinchnidifsi thahnathixnuyatihkhbwnrthedinphansyyanthixyuinthiham syyantwaethn Repeater Signal tngxyukxnthungsyyanpracathiinkrnithiimsamarthmxngehnsyyanthdipinrayaiklid echnthangokhng odyaesdngsyyantamthakhxngsyyanpracathitwthdip syyanxtonmti Automatic Signal tngxyuintxnxtonmtithahnathihamhruxxnuyatihkhbwnrthedinthungsyyanpracathitwthdip syyanphanthnnesmxradbthang Level Crossing Rail Warning Signal tngxyuhangcakkhxbthnnthitdphanthangrthifimnxykwa 50 emtr thahnathiaesdngihphnkngankhbrththrabwaekhruxngknthnnidpideriybrxyaelwhruxim praephthkhxngekhruxngsyyanpracathi Classification of Interlocking Station karrthifaehngpraethsithyidaebngpraephthkhxngrabbxantisyyanpracasthanirthif odyaebngtampraephthkhxngsyyanpracathithiichinaetlasthanidngnixantisyyanpracathichnidifsisamtha thisthanirthifchumthangtlingchnpraephth k praaecklhmu Class A Fully Interlocking k 1k praaeckliffachnidbngkhbsmphnthdwyriely aelasyyanifsi A1a All Relay Interlocking with Color Light Signals k 1kh praaeckliffachnidbngkhbsmphnthdwykhxmphiwetxr aelasyyanifsi A1b Computer Base Interlocking with Color Light Signals k 2 praaeckliffachnidbngkhbsmphnthdwyekhruxngkl aelasyyanifsi A2 Electromechanical Interlocking with Color Light Signals 1 praaecklhmuchnidkhwbkhumodyekhruxngklaelaiffasmphnthkbsyyanifsi Electromechanical Interlocking with Color Light Signals 2 praaecklhmuchnidkhwbkhumodysaylwdsmphnthkbsyyanifsi Electromechanical Interlocking but Operated from Lever Frame with Color Light Signals k 3 praaecsaylwdphrxmsyyanhangplachnidmisyyanetuxn syyanekhaekhtin aelasyyanxxknxk A3 Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped with Warner Home and Starter Signals k 4 praaecsaylwdphrxmsyyanhangpla syyanekhaekhtin aelasyyanxxknxk immisyyanetuxn A4 Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped but without Warner Either Equiped with Home and Starter xantisyyanpracathichnidhangpla thisthanirthifthnburi sungidrbkarxnurksiwpraephth kh praaecklediyw Class B Semi Interlocking kh praaecklediyw praaecmux phrxmsyyanhangpla B Semi Interlocking with Semaphore Signal with Hand Operated Key Locked Points praephth kh Class C kh sthanimiesasyyanhangplaxyangediyw C Station with Semaphore Signals Only praephth ng Class D ng sthaniichpayekhtsthani immisyyanpracathi D Stations without Signals but with Hand Operated Key Locked Points praephth c Class E c sthaniichpayhyudrth hruxthihyudrth E Stopping Place duephimtrathangsadwkaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb rabbxantisyyanrthif karxxkaebbrabbxantisyyanrthifdwykhxmphiwetxr http www railway co th seatcheck guest webboards board posts asp FID 2936 2006 10 19 thi ewyaebkaemchchin http en wikipedia org wiki Railway signal